Page 39 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 39

การส่อื สารชุมชนกับการพัฒนาสตรใี นชมุ ชน 9-29
โรงพยาบาลของรัฐในกรุงเทพมหานคร (มนทริ า โลหพันธวุ์ งศ์, 2524) เปน็ ต้น จากงานวจิ ัยดงั กล่าวเมอื่
วิเคราะห์ด้วยทฤษฎีหน้าที่นิยมของสื่อจะพบว่า สังคมยังคงคาดหวังให้ผู้หญิงท�ำหน้าท่ีในการเป็นแม่
มากกว่าจะส่งเสริมให้ผู้หญิงมีบทบาทในพื้นท่ีสาธารณะหรือการท�ำงานนอกบ้าน และมองว่าผู้หญิงเป็น
ผู้รบั สารท่ีออ่ นแอ (passive) สอื่ มีหน้าที่พฒั นาศกั ยภาพใหผ้ หู้ ญงิ

       ขณะทงี่ านวจิ ัยของอุบลวรรณ ปิติพฒั นะโฆษิต และอวยพร พานชิ (2532) พบวา่ การถือกำ� เนิด
ของนติ ยสารไทยตง้ั แต่ พ.ศ. 2431-2459 และชว่ ง พ.ศ. 2465-2475 เป็นช่วงแหง่ การปลกู จติ ส�ำนกึ ใน
ด้านการใฝห่ าความรู้และสทิ ธสิ ตรีไทย มีนติ ยสารผู้หญิงจ�ำนวน 18 ฉบบั เนอื้ หาสว่ นใหญส่ ะท้อนให้เหน็
ถงึ ความตนื่ ตวั ในการใหค้ วามรแู้ กผ่ หู้ ญงิ ไทยในดา้ นสงั คมและการเมอื ง ซง่ึ แนน่ อนวา่ กลมุ่ ผอู้ า่ นนา่ จะเปน็
ผู้หญิงชนชั้นกลางขึ้นไป ทั้งน้ีเน่ืองจากนิตยสารเป็นส่ือที่ต้องซื้อและความสามารถในการอ่าน แต่ในช่วง
เวลาดงั กลา่ วระบบการศกึ ษาไทยยงั พฒั นาไปไมถ่ งึ กลมุ่ ชนชนั้ ลา่ งโดยเฉพาะผหู้ ญงิ ทำ� ใหค้ วามรเู้ รอ่ื งสทิ ธิ
สตรไี ดร้ บั การผลกั ดนั และขบั เคลอื่ นในกลมุ่ ผหู้ ญงิ ชนชน้ั กลางเทา่ นนั้ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากประวตั กิ ารกอ่ ตงั้ สภา
สตรแี หง่ ชาติโดยทา่ นผหู้ ญงิ ละเอียด พิบลู สงคราม เป็นต้น

       อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมาผู้ผลิตนิตยสารส�ำหรับผู้หญิงมีความพยายามที่จะผลิตนิตยสารท่ีมี
เนื้อหาด้านวิชาการท่ีให้ความรู้ ความคิด และการพัฒนาผู้หญิง ทีว่ ิพากษ์วิจารณ์สังคม และบทบาทของ
ผหู้ ญงิ เช่น ฮอทไลน์ ผู้หญงิ เก่ง สตรที ัศน์ เปน็ ตน้ นติ ยสารดงั กล่าวมกี ลมุ่ เปา้ หมายเปน็ ผู้หญิงทม่ี ีการ
ศึกษา แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จเรื่องยอดขายจนต้องปิดตัวไป เนื่องจากไม่ได้รับความนิยมประกอบกับ
กลมุ่ เปา้ หมายในขณะนน้ั ยงั มจี ำ� นวนไมม่ ากนกั ตรงขา้ มกบั นติ ยสารประเภทดา้ นแมบ่ า้ นการเรอื นทมี่ เี นอื้ หา
เกยี่ วกับงานบ้าน นวนิยายทใ่ี หค้ วามบันเทงิ เชน่ นติ ยสารแม่บา้ น กลุ สตรี ขวญั เรือน ฯลฯ ได้รบั ความ
นิยมเปน็ อย่างมาก

       เมื่อวิเคราะห์ด้วยทฤษฎีการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจจะเข้าใจได้ว่า ผู้หญิงไม่ได้มีสถานะ
เป็นผู้รับสารท่ีอ่อนแอ ตรงกันข้ามผู้หญิงเป็นผู้รับสารเชิงรุก (active audience) ท่ีเลือกใช้ส่ือที่สามารถ
ตอบสนองความต้องการของตนเองได้ เช่น อ่านนิตยสารแนวครอบครัวเพื่อจัดการปัญหาในการเลี้ยงดู
บตุ ร ดังงานวจิ ัยเรือ่ งบทบาทของนติ ยสารผูห้ ญงิ แนวครอบครัวในการพฒั นาครอบครวั ของ วิภา นำ� ลาภ
(2541) หรอื งานวจิ ัยของ ตวงพร เกตสมบรู ณ์ (2555) ท่ศี ึกษาเรื่องการใชอ้ ินเทอร์เนต็ กับบทบาทความ
เปน็ แมบ่ า้ น ทีพ่ บว่า แมบ่ า้ นใช้อนิ เทอร์เนต็ เพอ่ื วตั ถุประสงค์ 3 ประการ คอื 1) การใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตเพ่อื
ตนเอง เช่น ติดตามข่าวสาร เพ่ือแก้เหงา เพื่อความเพลิดเพลิน เพ่ือความทันสมัย เพ่ือความบันเทิง
2) การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เพอื่ ครอบครวั คอื แมบ่ า้ นใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เปน็ เครอื่ งมอื ในการสบื คน้ ขอ้ มลู เพอื่ นำ� มา
ปรบั ใชใ้ นครอบครวั เชน่ สขุ ภาพของคนในครอบครวั การเลย้ี งดบู ตุ ร และ 3) การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เพอ่ื สงั คม
ผา่ นพฤตกิ รรมการเผยแพรข่ า่ วสาร สถานการณป์ จั จบุ นั ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ เชน่ การแปลขา่ ว การระดมความ
ชว่ ยเหลอื ในเวลาทสี่ งั คมไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น ซง่ึ ทำ� ใหแ้ มบ่ า้ นรสู้ กึ วา่ ตนเองมคี ณุ คา่ และเปน็ สว่ นหนง่ึ ของ
สังคมน�ำมาซ่ึงความภูมิใจในตนเอง กล่าวได้ว่าในกรณีนี้กลายเป็นผู้หญิงเองที่ใช้ส่ือเป็นเคร่ืองมือในการ
พัฒนาตนเองและชุมชน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44