Page 38 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 38

9-28 ความรู้เบือ้ งตน้ การสื่อสารชมุ ชน
       •	 กลุ่มสตรีนิยมแนวเสรีนิยม (Liberal Feminism) กลุ่มน้ีสนใจเรื่องภาพสะท้อนของผู้หญิงที่

ปรากฏในสื่อเป็นอย่างมาก โดยเห็นว่าหากภาพสะท้อนของผู้หญิงท่ีปรากฏในสื่อมีลักษณะที่ตายตัว
(stereotype) ไม่กี่ภาพ เช่น ภาพแม่และเมีย ซึ่งเป็นภาพท่ีไม่ส�ำคัญเลย ผลที่จะเกิดตามมาคือภาพ
ดังกลา่ วจะเป็นกระบวนการอบรมบม่ เพาะผหู้ ญงิ ในรนุ่ ตอ่ ไปให้มคี วามเปน็ หญงิ เหมือนในสอ่ื เทา่ น้นั

       •	 กลุ่มสตรีนิยมแนวก้าวหน้า (Radical Feminism) แนวคิดพื้นฐานของกลุ่มน้ีจะสนใจความ
สมั พนั ธเ์ ชงิ อำ� นาจระหวา่ งหญงิ ชายเปน็ หลกั โดยเฉพาะอำ� นาจทผี่ หู้ ญงิ สญู เสยี ไปในการควบคมุ ชะตากรรม
และการควบคมุ ทางเดินชวี ิตของตนเอง แม้แต่อ�ำนาจทีจ่ ะควบคมุ การใช้รา่ งกายของตนเอง ดงั น้นั ผลงาน
ของสื่อมวลชนท่ีกลุ่มสตรีนิยมกลุ่มนี้ให้ความสนใจวิเคราะห์มากท่ีสุดคือ การถ่ายภาพโป๊เปลือย ซ่ึงไม่ใช่
เรอ่ื งเพศเทา่ นนั้ หากแตเ่ ปน็ การอำ� นาจและเปน็ รปู แบบหนง่ึ ของการใชค้ วามรนุ แรงเชงิ สญั ลกั ษณต์ อ่ ผหู้ ญงิ

       •	 กลุ่มสตรีนิยมแนวมาร์กซิสม์ (Marxist Feminism) นักคิดกลุ่มน้ีเห็นว่าการเอาเปรียบทาง
เพศก็เหมือนกับความขัดแย้งทางชนช้ันท่ีกลุ่มผู้ได้เปรียบจะใช้กลไกทุกอย่างในสังคม รวมท้ังส่ือมวลชน
ในการครอบง�ำทางอุดมการณ์เพื่อรักษาความได้เปรียบเอาไว้ กลมุ่ นมี้ ที ศั นะตอ่ การทำ� งานของสอื่ มวลชน
ในด้านลบ เนื่องจากเห็นว่าไม่ว่าจะเป็นรายการประเภทข่าวสารหรือความบันเทิงก็ล้วนแต่มีการครอบง�ำ
ทางอุดมการณ์อยู่ในเนื้อหาท้งั ส้นิ และจำ� เป็นตอ้ งวิเคราะหเ์ พื่อเปิดเผยใหเ้ หน็ ลกั ษณะดังกลา่ ว

       •	 กลมุ่ สตรนี ยิ มแนววฒั นธรรม (Cultural Feminism) กลมุ่ นมี้ คี วามสนใจเรอ่ื งอดุ มการณเ์ กย่ี วกบั
บทบาททางเพศคล้ายกันกับกลุ่มสตรีนิยมแนวมาร์กซิสม์ แต่กลุ่มมาร์กซิสม์ให้ความสนใจที่มิติเศรษฐกิจ
และการเมอื งเปน็ หลกั ขณะทสี่ ตรนี ยิ มสายวัฒนธรรมให้ความส�ำคัญกับมิติวัฒนธรรมเป็นหลัก โดยเหน็
วา่ มติ วิ ฒั นธรรมเปน็ มติ ทิ ม่ี คี วามสำ� คญั ในตวั เอง และไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเปลยี่ นไปตามการเปลย่ี นทางเศรษฐกจิ
และการเมอื งเสมอไป นอกจากนย้ี งั เหน็ วา่ ในวฒั นธรรมนนั้ จะมกี ารตอ่ สเู้ พอื่ แยง่ ชงิ การใหค้ ำ� นยิ าม การจดั
ลำ� ดบั ความสำ� คญั และการใหค้ วามหมายการตคี วามอยตู่ ลอดเวลา ดงั นน้ั การวเิ คราะหจ์ งึ ตอ้ งเนน้ เรอื่ งความ
สมั พนั ธแ์ ละการตคี วามจากกลุ่มต่างๆ อยู่เสมอ เชน่ ความสัมพันธ์ระหวา่ งตัวสารกับผรู้ ับสาร

       สำ� หรบั ขบวนการสตรใี นประเทศไทย เฉพาะส่วนท่ีเก่ียวข้องกับบทบาทของการส่อื สารและการ
พัฒนาสตรีน้ัน ด�ำเนินการไปในทิศทางเดียวกับสากล โดยให้ความสนใจในสถาบันส่ือมวลชนในฐานะ
กลไกสำ� คญั ในการสง่ เสรมิ ความกา้ วหนา้ ของผหู้ ญงิ เรมิ่ ในแผนพฒั นาสตรรี ะยะยาว พ.ศ. 2525-2544 ซง่ึ
ระบวุ ่า ยงั มีสื่อส�ำหรบั ผู้หญงิ จำ� นวนนอ้ ยมาก ส่วนท่ีมีอยกู่ ส็ ง่ เสริมบทบาทเดิมๆ ของผู้หญงิ อกี ท้ังผู้หญิง
ยงั เขา้ ถงึ ข่าวสารเพ่ือการเรยี นรู้และมสี ่วนร่วมนอ้ ยกวา่ ผชู้ าย (กาญจนา แก้วเทพ, 2540: 1)

       เนอ่ื งจากมายาคติ “ผหู้ ญงิ เปน็ ผดู้ อ้ ยโอกาส” รฐั และองคก์ รเอกชนใชส้ อ่ื เปน็ เครอื่ งมอื ในการพฒั นา
ผหู้ ญงิ กลา่ วคอื ในชว่ งปี พ.ศ. 2525 เปน็ ชว่ งทสี่ งั คมไทยมกี ระแสของการใชส้ อ่ื มวลชนเพอ่ื การพฒั นา โดย
มีทฤษฎีผลกระทบของสื่อ (Impact Theory) หนุนหลงั อยู่ ดงั น้ันผูห้ ญิงซ่ึงถกู จัดให้อยใู่ นกลุ่มที่ต้องการ
การพฒั นา จงึ มหี วั ขอ้ วจิ ยั จำ� นวนมากทศี่ กึ ษาถงึ การใช้สื่อประเภทต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาศักยภาพของผู้หญิง
ในหลาย ๆ ด้าน เช่น กลยุทธการใช้ส่ือเพื่อปลูกฝังโภชนศึกษาแก่สตรีชนบท จ.สุพรรณบุรี (ดวงทิพย์
วรพนั ธ,์ 2525) อทิ ธพิ ลของสอ่ื กบั การใหค้ วามรกู้ ารสง่ เสรมิ การเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม:่ ศกึ ษาเฉพาะกรณศี นู ย์
อนามัยแมแ่ ละเด็ก เขต 4 จ.ขอนแกน่ (เพ็ญศรี วงศว์ โิ รจน์กลุ , 2525) รปู แบบการส่อื สารทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่
ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการวางแผนครอบครัวของสตรีท่ีมารับบริการวางแผนครอบครัวที่
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43