Page 33 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 33
การสอื่ สารชุมชนกบั การพฒั นาสตรีในชมุ ชน 9-23
หลังจากน้ันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับถัดมาก็ยังคงให้ความส�ำคัญต่อประเด็น
การพฒั นาสตรี ในท่นี ้จี ะนำ� เสนอถงึ แผนฉบับท่ี 5-8 ใหเ้ ข้าใจพอสังเขป รายละเอยี ดดงั นี้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) ใหค้ วามส�ำคญั ต่อผู้หญิง
ในฐานะทเี่ ปน็ กลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษทมี่ คี วามสำ� คญั ตอ่ โครงสรา้ งประชากร และการพฒั นาประเทศ โดยมอง
วา่ ผหู้ ญงิ เปน็ พลงั ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง อยา่ งไรกต็ ามในสมยั นน้ั
ผหู้ ญงิ ยงั ไมเ่ ปน็ ทย่ี อมรบั ในสงั คมมากนกั เปา้ หมายจงึ เนน้ ไปทกี่ ารอบรมอาชพี ใหก้ บั ผหู้ ญงิ เพอื่ ยกระดบั
รายไดข้ องผหู้ ญงิ ใหส้ งู ขึ้น นอกจากนนั้ รฐั ยังได้สนับสนุนให้องคก์ รเอกชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในแนวทางท่รี ัฐ
วางไว้ ในชว่ งนมี้ ีการต้ังคณะกรรมการสตรีแหง่ ชาติ เพื่อส่งเสรมิ และประสานงานการดำ� เนนิ งานเกีย่ วกับ
ผหู้ ญิง
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตฉิ บบั ท่ี 6 (พ.ศ. 2530-2534) ในชว่ งดงั กลา่ วเศรษฐกิจ
ของประเทศขยายตัวถึงร้อยละ 8.5 จึงมีความต้องการแรงงานจ�ำนวนมากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพและ
คุณภาพชีวิตของผู้หญิงเป็นอย่างมาก ในแผนการพัฒนาเศรษฐกิจฉบับนี้จึงเน้นการแก้ไขปัญหาการใช้
แรงงานเด็กและสตรี และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้หญิงในการตัดสินใจทั้งในระดับครอบครัว ระดับ
ชมุ ชน และระดบั ชาติ
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) รฐั บาลใหค้ วามสำ� คญั กับ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชนบท โดยเน้นการอยู่ดีกินดี มีความปลอดภัยในทรัพย์สิน การมีส่วน
รว่ มในการพฒั นา ตลอดจนการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ สง่ เสรมิ คมุ้ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ และสตรี มกี าร
อบรมอาชีพและเพ่ิมพูนทักษะในการประกอบอาชีพผู้หญิงอย่างกว้างขวาง รวมถึงเร่งจัดการแก้ไขปัญหา
การเลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ ผหู้ ญงิ ในดา้ นตา่ งๆ เพอ่ื ใหผ้ หู้ ญงิ สามารถพฒั นาตนเองไดต้ ามศกั ยภาพ ทางกรมพฒั นา
ชุมชนจึงมีเป้าหมายในการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาสตรีในหมู่บ้านและคณะกรรมการพัฒนาสตรีต�ำบล
ในปี พ.ศ. 2537 และจัดตงั้ คณะกรรมการพฒั นาสตรอี ำ� เภอ คณะกรรมการสตรจี ังหวัดให้ครบในปี พ.ศ.
2538 เพ่ือเปน็ แกนน�ำในการพัฒนาเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง และอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) แผนฯ ฉบบั น้ีมเี ปา้ หมาย
ในการสร้างโอกาสให้ผู้หญิงและผู้ด้อยโอกาสในสังคมได้รับการพัฒนาอย่างเต็มท่ี และได้รับการบริการ
ตา่ งๆ ทเ่ี หมาะสมและทว่ั ถงึ นอกจากนน้ั ยงั สนบั สนนุ บทบาทผหู้ ญงิ ใหม้ สี ทิ ธแิ ละโอกาสเทา่ เทยี มกบั ผชู้ าย
โดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองทุกระดับ รวมท้ังสร้างศักยภาพในการ
รวมกล่มุ มากข้นึ ส่งเสริมใหผ้ ู้หญงิ ไดร้ ับการศึกษา ฝึกอบรมและฝึกทกั ษะทุกด้าน นอกจากนน้ั แล้วยงั ให้
ความสำ� คญั กบั คนและชมุ ชนมากขนึ้ โดยสง่ เสรมิ การสว่ นรว่ มและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพชมุ ชนในการพฒั นา
กล่าวคือ เปิดโอกาสพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการปัญหาในชุมชนด้วยตนเองเพื่อประโยชน์ของ
ครอบครัวและชุมชน จึงเน้นความเข้มแข็งของชุมชนให้สามารถพึ่งพาตนเองโดยใช้เศรษฐกิจเป็นตัวน�ำ
สง่ เสรมิ บทบาทสตรใี หม้ สี ว่ นรว่ มในการสรา้ งความมน่ั คงทางเศรษฐกจิ ของชมุ ชน มสี ว่ นรว่ มในการบรหิ าร
จัดการงานพัฒนาชุมชนมากขึ้น อีกทั้งยังสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและท้องถ่ินในการพัฒนา
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม โดยสนบั สนนุ ใหก้ ลมุ่ สตรมี บี ทบาทในการควบคมุ ดแู ลและแกไ้ ขปญั หา
ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มของชุมชนมากขึน้