Page 29 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 29
การสอื่ สารชุมชนกบั การพัฒนาสตรีในชุมชน 9-19
3. ทัศนะเชิงต่อรอง
ส�ำหรับทัศนะทม่ี ีตอ่ ผู้หญิงในเชิงต่อรองนั้น กระแสการยอมรบั ลักษณะนเ้ี กิดขึน้ ในชว่ งศตวรรษท่ี
19 เชน่ งานของ แมร่ี โวลสโตนคราฟท์ (Marry Wollstonecraft) ที่เชอ่ื ว่า มีความแตกต่างระหว่างเพศ
อยู่ แต่แตกต่างเฉพาะในบางเร่ืองเท่านั้น เชน่ เรอ่ื งหนา้ ทขี่ องความเปน็ แม่ ซงึ่ เชอ่ื วา่ ผหู้ ญงิ โดยธรรมชาติ
เหมาะสมสำ� หรบั บทบาทนแ้ี ละใหค้ วามสำ� คญั กบั หนา้ ทน่ี ้ี แตไ่ มย่ อมรบั วา่ มคี วามแตกตา่ งในเรอ่ื งสตปิ ญั ญา
หรือเร่ืองจิตวิญญาณ ดังนั้นถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างแต่ก็ควรมีความเท่าเทียม เพราะต่างคนต่างท�ำ
หนา้ ทค่ี นละอยา่ งตามทธ่ี รรมชาตกิ ำ� หนด หญงิ และชายตา่ งสง่ เสรมิ กนั และกนั เพอ่ื การดำ� รงอยไู่ ดข้ องชมุ ชน
ในสงั คมไทยมรี ่องรอยความคิดแบบน้เี ช่นกนั ดังปรากฏอยใู่ นส�ำนวนไทย เชน่ ชายกอ่ หญิงสาน ผวั หาบ
เมยี คอน ชายเปน็ แหหญงิ เป็นข้อง เป็นต้น
นักสตรีนิยมบางกลุ่มยอมรับถึงความแตกต่างระหว่างเพศ แต่มองว่าความแตกต่างท่ีด�ำรงอยู่
ไม่ได้เกิดข้ึนตามธรรมชาติดังความเชื่อแบบประเพณีนิยม แต่เป็นผลมาจากการขัดเกลาทางสังคม
(socialisation) ผา่ นสถาบนั ตา่ งๆ ทางสงั คม สงั คมเปน็ ผสู้ รา้ งความเปน็ หญงิ เปน็ ชาย เคต มลิ เลต็ (Kate
Millet) ไดเ้ ขยี นไวใ้ น เซ็กชวั ล์ โพลติ กิ ส์ (Sexual Politics, 1970) วา่ อดุ มการณช์ ายเป็นใหญ่ไดก้ ่อให้
เกิดความเช่ือที่ว่า ความแตกต่างทางร่างกายท�ำให้เกิดความแตกต่างในความเป็นหญิงความเป็นชาย
นำ� ไปสคู่ วามแตกตา่ งในบทบาททางเพศ ทผ่ี ชู้ ายมเี หนอื กวา่ และผหู้ ญงิ มคี วามดอ้ ยกวา่ (วารณุ ี ภรู สิ นิ สทิ ธ,ิ์
อ้างแล้ว: 12-13)
อยา่ งไรกต็ ามหลงั จากทมี่ กี ารวพิ ากษว์ จิ ารณจ์ ากกลมุ่ สทิ ธสิ ตรเี กย่ี วกบั การตรงึ บทบาทของผหู้ ญงิ
ใหต้ ิดอยู่เพยี งแค่ “เมยี ” และ “แม่” เทา่ นนั้ ได้มีการปอ้ นบทบาทใหม่ออกมาเป็นทางเลอื กให้แกผ่ ้หู ญงิ
ทอี่ ยภู่ ายใตส้ ญั ญะวา่ “ผหู้ ญงิ เกง่ ” ซงึ่ มคี วามหมายทอ่ี าจจะสอดรบั กบั อดุ มการณท์ างเพศแบบเดมิ ในสงั คม
ไทย คือ “มือก็ไกวดาบก็แกว่ง” เพราะ “ผู้หญิงเก่ง” นั้นคือผู้หญิงท่ีเป็นได้ทั้งแม่และผู้หญิงท�ำงานไป
พรอ้ มๆ กัน ดงั เพลง “ผูห้ ญิง 2 พนั ธ”์ุ ของศลิ ปนิ เสาวลักษณ์ ลีละบตุ ร ทีส่ ะทอ้ นให้เหน็ ว่า ผหู้ ญิงสมยั
ปจั จบุ นั เปน็ ผ้หู ญิง 2 พนั ธ์ุ ที่ตอ้ งสามารถดแู ลรับผิดชอบและจัดการเรอ่ื งในบา้ น (ผูห้ ญิงพันธแุ์ ม่บ้าน) ไป
พร้อมๆ กบั การทำ� งานเลี้ยงตนเอง (ผูห้ ญิงพันธุท์ �ำงาน) ได้โดยทีไ่ มต่ ้องพง่ึ พาผู้ชายอกี ต่อไป ดงั เนอื้ ร้อง
ตอ่ ไปน้ี
เอาเข้าไป เหนื่อยยากสักเทา่ ไร จะแบบไหนถึงไงกต็ อ้ งเอา
ลุยจากงานไอ้ที่บา้ นก็ไม่เบา จะอะไรก็มีแต่เราทง้ั นนั้
กลุ สตรแี บบเขาพูดกนั กอ็ ยากเปน็ ให้มนั ได้อย่างใจ
เงินกห็ าท้ังคา่ น�้ำค่าไฟ ดาบกช็ ูไอเ้ ปลก็ไกวใหพ้ อ
น่ีไงผู้หญงิ ผู้หญิงทนั สมยั ในวันน้ี อึดเข้าไว้ทำ� ใจดๆี ไวก้ ่อน
น่ไี งผู้หญิงห่นุ ยนตไ์ ม่ตอ้ งหนาวไม่ต้องรอ้ น
ไมต่ ้องกนิ ไม่ตอ้ งไดน้ อนก็ยังไหว
เอากเ็ อาอยากเทแ่ ทบขาดใจ ไมเ่ ป็นไรถึงตายก็ชา่ งมัน
คนอยา่ งเราจะไปพึง่ ใครกนั ก็ต้องยอมแบกมันทกุ วนั โดยดี
คำ� รอ้ งโดย เสาวลกั ษณ์ ลลี ะบุตร