Page 25 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 25

การสื่อสารชมุ ชนกับการพัฒนาสตรใี นชุมชน 9-15
ยังมองว่า ผู้หญิงขาดความสามารถในเร่ืองของเหตุผลและมีพฤติกรรมอยู่บนพ้ืนฐานของความรู้สึกและ
ความคิดเห็น เชน่ เดียวกนั กับ โชเปนเฮาว์เออร์ (Schopenhauer) ทมี่ องวา่ ผู้หญิงเหมาะที่จะท�ำหน้าท่ี
ดูแลและสอนเด็ก เพราะพวกเธอเองก็เป็นเด็ก มีนิสัยเหลาะแหละ คิดอะไรส้ันและแคบ มีความสามารถ
ในเร่ืองเหตุผลน้อยและไม่มีความเข้าใจเร่ืองความยุติธรรม สิ่งท่ีเธอให้ความสนใจมีเพียง ความรัก การ
เอาชนะ และทกุ สง่ิ ทเี่ กย่ี วกบั การแตง่ ตวั การเตน้ รำ�  การทผ่ี หู้ ญงิ มสี ถานภาพทางสงั คมและจติ วญิ ญาณตำ�่
กว่าผ้ชู าย เปน็ ผลจากการทผ่ี ้หู ญิงมักจะเช่ือมโยงอยกู่ ับอารมณ์ความรู้สกึ (sensuality) และธรรมชาติ

       ในงานเขียนเรื่อง เอมิลิ (Emile) ของรุสโซ (Rousseau, 1995) เสนอว่าผู้ชายจ�ำเป็นต้องเป็น
ผู้ควบคุม โดยอ้างว่า ผู้หญิงเป็นท่ีมาของความรัญจวนใจทางเพศ ความรักเป็นที่มาของความรัญจวนใจ
ซง่ึ ธรรมชาตไิ ดใ้ หอ้ ำ� นาจแกผ่ หู้ ญงิ ในการกระตนุ้ ความรญั จวนใจของผชู้ าย และถา้ เมอ่ื ใดผชู้ ายพง่ึ พาผหู้ ญงิ
เพอ่ื ความรกั เมอื่ นน้ั ผชู้ ายกจ็ ะหมดอสิ รภาพ เพราะผชู้ ายทเ่ี ปน็ อสิ ระตอ้ งมเี หตผุ ลไมถ่ กู ครอบงำ� ดว้ ยความ
รญั จวนใจ ดงั น้ันจงึ จ�ำเปน็ ท่ีผ้ชู ายต้องควบคมุ ผหู้ ญิงโดยการทำ� ให้เธอเปน็ แมแ่ ละภรรยา และในส่วนของ
ครอบครวั รุสโซกลา่ วว่า เป็นธรรมชาตทิ ีผ่ ูเ้ ป็นพอ่ ควรจะเปน็ ผ้บู งั คับบญั ชา และผหู้ ญิงถกู สร้างมาให้ยอม
และอดทนแม้แต่ความอยุติธรรมจากผู้ชาย ผู้ชายควรจะเข้มแข็งและเป็นฝ่ายกระท�ำ  ขณะท่ีผู้หญิงควรจะ
ออ่ นแอและเปน็ ฝ่ายรองรับ เมอ่ื ผู้ชายไมม่ ผี ้หู ญงิ เขาจะอยไู่ ด้ดีกวา่ ผู้หญิงทีอ่ ยโู่ ดยไมม่ ีผู้ชาย เพราะผู้หญิง
ไม่สามารถเตมิ เตม็ จดุ มุ่งหมายในชีวิตได้ถ้าปราศจากความชว่ ยเหลอื ความปรารถนาดี ความเคารพจาก
ผ้ชู าย ผู้หญงิ พ่ึงพาความร้สู กึ ของผชู้ ายเพือ่ การดำ� รงอยู่ ท้งั หมดน้เี ปน็ กฎของธรรมชาติ

       จอห์น ลอ็ ก (John Locke) นกั ปรชั ญาอกี ท่านหนง่ึ กเ็ หน็ เชน่ เดยี วกันวา่ ผู้ชายเป็นเจ้าของทุก
อย่างในครอบครวั รวมถงึ ภรรยาและคนรบั ใช้ ผหู้ ญงิ ถอื เปน็ ทรพั ยส์ นิ สว่ นหนงึ่ ของผชู้ าย ผหู้ ญงิ ไมส่ ามารถ
เป็นเจ้าของทรัพย์สินและไม่สามารถมีสิทธิเป็นพลเมืองเต็มข้ัน และเนื่องจากภรรยาเป็นส่วนหนึ่งของ
ทรพั ยส์ นิ การใชส้ ทิ ธทิ างการเมอื งตอ้ งใชผ้ า่ นสามี ซงึ่ มผี ลทำ� ใหผ้ หู้ ญงิ ตะวนั ตกมสี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ทางการเมอื ง
หลังผู้ชายหลายปี และต้องผา่ นการต่อสู้เรยี กรอ้ งอยา่ งมาก

       ส�ำหรับสังคมไทยในอดีต ทัศนะที่มีต่อผู้หญิงนั้น เนื่องจากสังคมไทยระบบคุณค่าและความคิด
ความเชอื่ สว่ นหนงึ่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลมากจากพระพทุ ธศาสนา ในพระไตรปฎิ กไดก้ ลา่ วถงึ ผ้หู ญงิ วา่ ผหู้ ญงิ เปน็
ศัตรูของการครองพรหมจรรย์ เน่ืองจากธรรมชาติของผู้หญิงมิอิทธิพลชักจูงหรือครอบง�ำจิตใจชายให้
หลงใหลได้ การใกล้ชิดผู้หญิงจึงท�ำให้การฝึกตนเพ่ือลดราคะจึงเป็นไปได้ยาก ทั้งน้ี ปรีชา ช้างขวัญยืน
(2557: 76-77) มคี วามเห็นวา่ ในแงน่ ผ้ี หู้ ญงิ ไม่ไดเ้ ป็นส่ิงนา่ รังเกียจ หากแต่ความน่าพงึ ใจตา่ งหากท่ีเปน็
ศตั รขู องพรหมจรรย์

       ขณะที่ อคิน รพพี ฒั น์ (2533: 71-82) เห็นว่าความไม่เท่าเทียมทางเพศในสังคมไทย น่าจะเป็น
ผลมาจากกรอบความเชอื่ ทางพระพทุ ธศาสนา ทกี่ ำ� หนดวา่ ลกู ชายมสี ถานะสงู กวา่ ลกู สาว เนอื่ งจากลกู ชาย
สามารถบวชและนิพพานได้ ท�ำให้ผู้ชายถูกคาดหวังจากสังคมให้แสดงบทบาทในด้านของชื่อเสียงและ
เกยี รตยิ ศ อกี ทงั้ การบวชถกู ใหค้ า่ วา่ เปน็ การแสดงบทบาทเชงิ จารตี ประเพณที ช่ี ว่ ยใหผ้ ชู้ ายมสี ถานภาพสงู
กว่าผู้หญิง และเนื่องจากลูกสาวบวชไม่ได้ ท�ำให้ลูกสาวต้องตอบสนองความคาดหวังของครอบครัวโดย
การแสดงบทบาททางเศรษฐกจิ และการใหบ้ รกิ ารตอ่ พอ่ แมต่ ลอดชวี ติ คตคิ วามเชอ่ื ทางพระพทุ ธศาสนาจงึ
เปน็ อุดมการณท์ ี่เอื้อให้เกิดอุดมการณแ์ บบชายเป็นใหญใ่ นสังคมไทย
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30