Page 26 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 26
9-16 ความรเู้ บ้อื งต้นการส่ือสารชมุ ชน
ยศ สันตสมบัติ (2542: 152) ต้ังข้อสังเกตว่าเน่ืองจากสังคมไทยมีลักษณะวัฒนธรรมเฉพาะท่ี
แตกตา่ งกันออกไปในแตล่ ะชนชั้นท�ำให้ความหมายของผหู้ ญิง ตลอดจนบรรทัดฐาน แบบแผนพฤตกิ รรม
และบทบาทฐานะของผหู้ ญงิ ในวฒั นธรรมของแตล่ ะชนชน้ั ยอ่ มแตกตา่ งกนั ออกไป ตวั อยา่ งเชน่ การศกึ ษา
ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยจากวรรณกรรม งานของ นธิ ิ เอยี วศรวี งศ์ (2555) และการศกึ ษาเรอ่ื งกรอบความรเู้ รอื่ ง
เพศในสงั คมไทย ของ จริ เวทย์ รกั ชาติ (2557) พบวา่ ทศั นะทม่ี ตี อ่ ผหู้ ญงิ ทปี่ รากฏในวรรณกรรมประเภท
ต่างๆ ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ นนั้ มองวา่ ผู้หญงิ ช้ันสงู เปน็ ทรพั ย์สนิ ทม่ี คี ุณคา่ ของพ่อแม่ พระมหา-
กษัตรยิ ์ ของขวัญที่แสดงมติ รไมตรีหรือความขอบคณุ ส่งิ ทถี่ ูกแยง่ ชงิ หรอื ซอ้ื ขายได้
ในสมัยรัชกาลที่ 4 จนถึงก่อนการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ผู้หญิงเป็นวัตถุทางเพศ
กระตุ้นความต้องการทางเพศของผู้ชาย กล่าวได้ว่าในยุคสมัยดังกล่าวผู้หญิงถูกมองในแง่ลบมากขึ้น ยศ
สันตสมบัติ (เพิ่งอ้าง) อธิบายว่า เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงเพ่ือความทันสมัย (modernisation) และ
กระบวนการท�ำให้กลายเป็นตะวันตก (westernisation) การเปลี่ยนแปลงบทบาทฐานะของผู้หญิงเริ่ม
ปรากฏในสงั คมไทยตงั้ แตส่ มยั รชั กาลท่ี 5 เปน็ ตน้ มา ซงึ่ มจี ดุ กำ� เนดิ จากผหู้ ญงิ ชนั้ สงู ทเี่ นน้ การเปลย่ี นแปลง
ในเรอื่ งของ “ความงาม” แบบตะวนั ตก การแตง่ กาย การวางตวั การเขา้ สงั คม การแพรก่ ระจายของแฟชน่ั
เคร่ืองแต่งกายแบบตะวันตกโดยมีส่ือมวลชน เช่น ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์ เป็นส่ือกลาง ประกอบกับ
ลักษณะเฉพาะของสังคมตะวันตกและวัฒนธรรมศักดินาของไทยท่ีแบ่งแยกผู้หญิงออกจากกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจและการเมอื ง ครอบงำ� ผหู้ ญิงไว้ใน “อุดมการณแ์ ม่บา้ น” ใหอ้ ยกู่ ับเหยา้ เฝา้ กับเรือน ให้สนใจแต่
เร่ืองของความงาม การแต่งกาย กิริยามารยาท ความเป็นกุลสตรี มีบทบาทเฉพาะในครอบครัวที่ดูแล
เอาอกเอาใจลกู และสามีเทา่ นั้นสง่ ผลกระทบถึงบทบาทฐานะของผู้หญิงให้ตกตำ�่ ลงไปจากเดิม
นอกจากนัน้ การลอกเลียนกจิ กรรมบางอยา่ งตามอดุ มการณ์ “ชายเป็นใหญ่” ของตะวนั ตก เชน่
การประกวดนางงาม ซึ่งเข้ามาในสังคมไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2477 มีส่วนท�ำให้สังคมไทยท่ีเคยยกย่องให้
เกียรติผู้หญิงและความเป็นแม่ มีทัศนะต่อผู้หญิงว่าเป็นสินค้าและวัตถุทางเพศมากข้ึนเรื่อยๆ ความงาม
และรา่ งกายของผหู้ ญิงถกู ท�ำให้กลายเป็นสินค้าเพือ่ อวดโชว์
ในงานวจิ ยั ของ สภุ า อังกุระวรานนท์ (2527) ที่ศกึ ษาความหมายของคำ� วา่ “ผู้หญงิ ” จากความ
เปรียบในเพลงไทยลูกทุ่งและลูกกรุง ในช่วงปี พ.ศ. 2512-2525 เพ่ือชี้ให้เห็นว่าบทเพลงในช่วงเวลา
ดังกล่าวจะสะท้อนให้เห็นถึงทัศนะที่สังคมมีต่อผู้หญิงอย่างไร แต่ด้วยงานวิจัยช้ินน้ีเป็นงานวิจัยด้าน
ภาษาศาสตร์ กาญจนา แก้วเทพ (2554: 314-315) ได้นำ� ผลการวจิ ยั มาท�ำการ “อ่านใหม่” ด้วยทฤษฎี
แบบสตรีนิยมอีกคร้งั และพบวา่ ผลงานเพลงเหล่านี้ส่วนใหญ่ถูกสรา้ งจากทัศนะของผู้ชาย ซึง่ มที ัศนะต่อ
ผู้หญิงที่เป็นท้ังแง่ลบและแง่บวก ทัศนะในแง่ลบพบว่า ผู้ชายมองผู้หญิงเป็นสิ่งที่ไม่ส�ำคัญ มีไว้ระบาย
อารมณท์ างเพศ ไวใ้ จไมไ่ ด้ ไมม่ เี กยี รตทิ คี่ วรคา่ แกก่ ารยกยอ่ ง เชน่ เดยี วกนั กบั ในกรณที นี่ กั รอ้ งเปน็ ผหู้ ญงิ
กจ็ ะพบว่า เปน็ ความเปรยี บในด้านลบทั้งหมด เชน่ เป็นสิ่งไม่สำ� คัญ ต่ำ� ต้อย รองรบั การกระท�ำของผู้อ่นื
เปน็ ที่ระบายอารมณท์ างเพศ อยู่ใตอ้ �ำนาจของสามี ทั้งนี้ กาญจนา ตง้ั ข้อสงั เกตวา่ ในขณะท่ีผู้ชายน้นั ยัง
มองผู้หญิงท้ังแง่บวกและลบ แต่ผู้หญิงกลับมองตัวเองในด้านลบเพียงด้านเดียว กล่าวคือ ไม่เห็นคุณค่า
ของตัวเอง ดูถูกตัวเอง ท้ังนี้เป็นผลมาจากการผลิตซ้�ำอุดมการณ์แบบชายเป็นใหญ่ โดยการเปิดเพลง