Page 21 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 21
การสอื่ สารชมุ ชนกบั การพัฒนาสตรีในชมุ ชน 9-11
ในวรรณคดีท้ังปวงนั้นได้ส่ังสอนอบรมให้สตรีเป็นข้าทาสของผู้ชายแต่เพียงอย่างเดียว กวีอย่าง
“สนุ ทรภู่” ท่านสอนผู้หญิงแตก่ น้ ครวั เชน่ สุภาษิตสอนหญงิ ตอนหน่ึง ดังวา่
“ระวงั ดเู รือนเหย้าและขา้ วของ จะบกพร่องอะไรท่ีไหนนัน่
เห็นไม่มแี ล้วอย่าอ้างวา่ ช่างมัน จงผ่อนผันเกบ็ เลม็ ใหเ้ ต็มลง”
เชน่ เดยี วกันกับสงั คมหลายๆ สังคมท่ีมแี นวคิดหลกั แบบชายเป็นใหญแ่ ละเชอื่ ว่าผู้หญงิ ควรอยูใ่ น
บ้านคอยดูแลปรนนิบัติลูกและสามีซ่ึงถือเป็นบรรทัดฐานทางสังคม ถึงแม้ว่าหญิงผู้นั้นจะมีอาชีพการงาน
ของตนแต่เธอก็ยังคงต้องท�ำงานบ้านและดูแลลูกดูแลสามีเช่นเดิม สถานภาพและบทบาทของผู้หญิงไทย
แทบจะไม่มีอะไรที่แตกต่างจากสถานภาพและบทบาทของผู้หญิงในนวนิยายของวูลฟ์เลย ในวัฒนธรรม
ไทยโบราณ หญิงใดท่มี สี ามีแลว้ ยอ่ มถอื วา่ เป็นสมบัตขิ องสามี จะเหน็ ไดจ้ ากกฎหมายในสมัยอยธุ ยาทรี่ ะบุ
ไว้วา่ “หญงิ เปน็ ควาย ชายเป็นคน” หรอื ขนบธรรมเนียมประเพณขี องไทยทอ่ี บรมสั่งสอนกันมาตลอดวา่
ให้ผู้หญิงตามหลงั ผ้ชู าย
ใหเ้ ป็นทาสเป็นข้าช่วงใช้
ให้ปรนนิบัตผิ ู้ชาย
ใหส้ งบเสง่ยี มเจียมตัว
ใหเ้ รยี บร้อยดงั ผา้ พบั ไว้
ให้ผู้หญงิ เป็นชา้ งเทา้ หลงั
ส่ิงเหล่านี้เมื่อลองพลิกดูสุภาษิตสอนหญิงก็จะมองเห็นเด่นชัดทีเดียวว่า สอนให้ผู้หญิงเป็นทาส
มากกวา่ ทจ่ี ะเปน็ ผนู้ ำ� เพราะฉะนน้ั การปลกู ฝงั ความคดิ เชน่ นเี้ องจงึ ทำ� ใหผ้ ชู้ ายทงั้ ปวงเหน็ ผหู้ ญงิ เปน็ เพยี ง
เคร่อื งเล่น และก�ำหนดขอบเขตของสตรีเอาไวใ้ นฐานะขา้ ชว่ งใช้ตนแตเ่ พยี งอยา่ งเดียว ข้อปฏบิ ตั ทิ ัง้ ปวงที่
ผ้ชู ายก�ำหนดเอาไว้แต่สมยั โบราณน้ันกก็ ำ� หนดหนา้ ทีใ่ หผ้ หู้ ญิงเปน็ เพยี งผู้บำ� เรอความสุขของตน เชน่ ต่ืน
ก่อนนอนทีหลัง เพื่อที่จะคอยเตรียมน้�ำท่า ข้าวปลาอาหาร นอนทีหลังเพื่อที่จะจัดแจงดูแลทุกอย่างให้
เรียบร้อย (อนันต์ สายศิริวิทย์, 2518) ดังค�ำกลอนตอนหนึ่งในวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนที่กล่าวถึง
สตรีทม่ี สี ามวี ่า
“อันหญงิ ดีท่ีเปน็ ภรรยา ก�ำหนดไว้ในตำ� ราว่าเป็นสี่
หนง่ึ เลี้ยงดภู ัสดาด้วยปราณ ี หน่งึ ร่วมทุกข์สามเี สมอกนั
หนึง่ น้นั เคารพนบนอบผวั หน่ึงยอมตัวให้ใช้ไมเ่ ดยี ดฉนั ท์
จึงอย่เู ยน็ เปน็ สขุ ทุกคนื วนั ดว้ ยผัวน้ันวางใจที่ในตัว”