Page 19 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 19
การสอ่ื สารชมุ ชนกับการพัฒนาสตรีในชมุ ชน 9-9
2. กลุ่มสตรีนิยมแนวก้าวหน้า (Radical Feminism) กลุ่มน้ีเห็นว่าระบบสังคมทมี่ ีอยเู่ ปน็ ระบบ
ถอื ชายเปน็ ใหญ่ (Patriarchy Society) ในสงั คมเช่นนี้ชะตากรรมและศกั ดศ์ิ รีความเปน็ มนุษย์ของผู้หญงิ
จะถูกก�ำหนดใหม้ ฐี านะตำ่� ต้อย
3. กลุ่มสตรีนิยมแนวมาร์กซิสต์ (Marxist Feminism) กลุ่มนี้สนใจการวเิ คราะห์ระบบสังคมท่ี
เปน็ อยวู่ า่ คอื ระบบทนุ นยิ มทมี่ ชี นชนั้ ภายใตร้ ะบบนส้ี ถานภาพของผหู้ ญงิ จะถกู เอารดั เอาเปรยี บอยา่ งถงึ ท่ี
สดุ การปรับปรุงสถานภาพของผหู้ ญงิ จะดขี นึ้ ไดก้ ็ตอ่ เม่ือมกี ารเปลี่ยนแปลงสงั คมใหป้ ราศจากชนช้นั
4. กลุ่มสตรีนิยมแนววัฒนธรรม (Cultural Feminism) กลมุ่ น้ีจะสนใจลักษณะทางอดุ มการณ์
ของความเป็นหญิงความเป็นชาย ที่ถูกวัฒนธรรมของสังคมเป็นตัวก�ำหนด และเห็นว่าทิศทางของการ
เปล่ียนแปลงต้องม่งุ สู่การเปลย่ี นแปลงในระดับวัฒนธรรมดงั กล่าว
การจำ� กดั ความหมายของคำ� วา่ เพศ (sex) ใหเ้ ฉพาะเจาะจงเชน่ นก้ี เ็ พอ่ื ตอ้ งการลดรปู ความหมาย
ของคำ� คำ� นใ้ี หเ้ หลอื เพยี งความหมายทางชวี ภาพและกายวภิ าคเทา่ นนั้ และจำ� แนกคำ� วา่ เพศออกจากคำ� วา่
เพศสภาวะ (gender) ซึ่งหมายถึง ความเป็นผู้หญิงและความเป็นผู้ชายที่ไม่ได้ถูกก�ำหนดโดยระบบทาง
สรีระหรือชีววิทยา แต่ถูกก�ำหนดโดยปัจจัยทางวัฒนธรรม สังคม และอื่นๆ ท�ำให้เกิดความคาดหวังต่อ
ความเป็นหญิงความเป็นชายในแง่มุมเฉพาะต่างๆ เช่น สถานภาพของผู้หญิงและผู้ชายเม่ืออยู่ในบริบท
ของครอบครวั ในฐานะของแม่ ภรรยา ลกู สาว หรอื ในบริบทของการท�ำงานในพืน้ ทสี่ าธารณะ ซ่ึงผู้หญงิ
มกั มสี ถานะเป็นรองกวา่ ผู้ชาย หรือถูกจ�ำกดั บทบาทให้ท�ำหน้าทเ่ี ฉพาะอย่าง เปน็ ตน้
ซโี มน เดอ โบววั ร์ (Simone de Beauvoir, 1989 อา้ งในวารณุ ี ภรู สิ นิ สทิ ธ์,ิ อา้ งแลว้ ) ผู้บกุ เบิก
ทฤษฎีสตรีนิยมชาวฝรั่งเศสได้กล่าวถึงข้อความที่อธิบายความหมายของค�ำว่าเพศสภาวะไว้อย่างชัดเจน
ว่า “ผู้หญิงไม่ได้เกิดมาเป็นผู้หญิง แต่ถูกท�ำให้กลายเป็นผู้หญิงในภายหลัง” (One is not born, but
rather becomes a woman) เดอ โบววั ร์ ต้องการชีใ้ ห้เห็นว่า การท่ีเด็กคนหน่ึงเกิดมามีเพศสรีระเป็น
ผู้หญิงน้ัน ไม่ได้มีอะไรบ่งบอกว่าเธอด้อยกว่า หากแต่กระบวนการขัดเกลาทางสังคม (socialisation)
เชน่ การอบรมเลยี้ งดจู ากครอบครวั ความรแู้ ละวธิ ปี ฏบิ ตั ติ า่ งๆ ทไี่ ดร้ บั การปลกู ฝงั จากโรงเรยี น ตำ� รา และ
ผ่านสื่อมวลชนทุกประเภท มีส่วนส�ำคัญอย่างย่ิงที่ท�ำให้เด็กผู้หญิงรับเอาค่านิยม ความเช่ือ และทัศนคติ
เกย่ี วกบั ความแตกตา่ งทางเพศสภาวะเหลา่ นนั้ เขา้ มาไวใ้ นตนเอง และทำ� หนา้ ทถ่ี า่ ยทอดและปลกู ฝงั คา่ นยิ ม
นี้ไปยังคนรุ่นอ่ืนต่อไป ด้วยกระบวนการท่ีเกิดขึ้นจากปัจจัยแวดล้อมดังกล่าวจึงท�ำให้นักสตรีนิยมสรุปว่า
เพศสภาวะ (gender) เป็นสิ่งท่ีประกอบสร้างทางสังคมซ่ึงแอน โอ๊คเลย์ (Ann Oakley, 1972 อ้างใน
วิลาสินี พพิ ธิ กลุ และกิตติ กันภยั , 2546: 11) นกั ทฤษฎีสตรีนิยม เสนอว่า ความแตกตา่ งทางเพศ (sex
differences) อาจมองได้ว่าเป็นเร่ืองท่ีสัมพันธ์กับสรีระและเป็นธรรมชาติ แต่เรื่องของความแตกต่างทาง
เพศสภาวะนนั้ ตอ้ งมองจากแงม่ มุ ของวฒั นธรรมทางสังคมเท่านัน้
รูธเว็น (Ruthven) (อ้างในภัทรพร หงษ์ทอง, 2538) เหน็ วา่ สภาพความเปน็ เดก็ หญงิ ไปสู่การ
เป็นสตรีนั้น มิใช่การเปล่ียนแปลงด้านสรีระหรืออายุของเธอเท่านั้น แต่เป็นการเปล่ียนแปลงที่มาจาก
กระบวนการทางวัฒนธรรมซ่ึงมีอิทธิพลต่อความคิดของผู้หญิงเองว่า เธอคิดเก่ียวกับตนเองอย่างไร
กระบวนการขดั เกลาทางสงั คม การอบรมบม่ เพาะทางสงั คมจะกำ� หนดวา่ ผหู้ ญงิ ควรจะทำ� อยา่ งไรกบั ชวี ติ
ของตนเอง