Page 18 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 18
9-8 ความร้เู บอ้ื งตน้ การสื่อสารชุมชน
กล่มุ ท่ีเคล่อื นไหวเกี่ยวกบั เร่ืองความหมายของคำ� วา่ “ผู้หญิง” “ความเปน็ ผู้หญงิ ” คอื กลุม่ ที่รจู้ ัก
กนั ในนาม “สตรีนยิ ม” (Feminism) ซึ่ง เชียลา่ โรวโ์ บแธม (Sheila Robotham, 1992 อา้ งใน วารณุ ี
ภรู สิ นิ สทิ ธ,ิ์ 2545: 2) กลา่ ววา่ คำ� วา่ เฟมนิ สิ ม์ เกดิ ขนึ้ ในชว่ งตน้ ศตวรรษท่ี 19 เพอื่ ใชอ้ ธบิ ายถงึ การรณรงค์
เพอื่ สทิ ธใิ นการเลอื กตงั้ ของผหู้ ญงิ ในทศวรรษที่ 1890 ทฤษฎสี ตรนี ยิ มไดน้ ยิ ามคำ� วา่ เพศ (sex) ไวว้ า่ หมายถงึ
เฉพาะเพศในเชิงชีววิทยาของบุคคลเท่าน้ัน ไม่ว่าจะเป็นผู้หญิงหรือผู้ชายท่ีมีสรีระบ่งบอกความเป็นหญิง
และชาย ทง้ั นเ้ี พอื่ ใหก้ ารวเิ คราะหเ์ รอ่ื งบทบาททางเพศ (sex role) ถกู ทำ� ความเขา้ ใจเสยี ใหม่ วา่ ไมใ่ ชเ่ รอื่ ง
ที่เก่ียวข้องกบั ชวี วิทยา หรือเป็นเรื่องทถี่ ูกกำ� หนดมาตามธรรมชาติ (Humm, 1995: 256-257)
กาญจนา แกว้ เทพ (2544: 120-121) ไดอ้ ธบิ ายเกย่ี วกบั ทม่ี าของแนวคดิ สตรนี ยิ มวา่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ล
มาจากแนวคิดอย่างน้อย 3 แนว คอื
1. แนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน (the right of man) ท่ีให้ความส�ำคัญกับสิทธิอันเท่าเทียมของ
มนษุ ยท์ กุ คน หนงึ่ ในสทิ ธเิ หลา่ นนั้ คอื “สทิ ธพิ ลเมอื ง” หมายถงึ การมสี ทิ ธทิ จ่ี ะเขา้ รว่ มลงคะแนนเสยี งเลอื ก
ต้งั ในฐานะพลเมอื งของประเทศ แตส่ ทิ ธินี้ในระยะเริ่มแรกหลายสังคมสงวนไวใ้ หแ้ ก่ผ้ชู ายเทา่ นนั้ ดังนน้ั จึง
มกี ระแสเคล่ือนไหวท่ีวา่ “สทิ ธสิ ตรีก็คือสิทธิมนษุ ยชน” (woman right is human right)
2. แนวคิดสังคมนิยม/สังคมยูโทเปีย (Socialism/Utopia) แนวคิดนี้มุ่งสร้างสรรคส์ ังคมใหม่ท่มี ี
ความยตุ ิธรรมเสมอภาค และไมถ่ กู เกณฑเ์ ร่อื ง ชนช้ัน เพศ เช้อื ชาติ สีผวิ มาเป็นเคร่อื งกีดกัน ดงั นั้นจึงมี
จดุ รว่ มกนั กบั กลมุ่ สตรนี ยิ มบางกลมุ่ ทตี่ อ้ งการสรา้ งสงั คมใหมท่ ไ่ี มม่ เี รอื่ งความไมเ่ สมอภาคทางเพศมาเปน็
เครื่องแบ่งแยกมนุษย์
3. แนวคดิ เรอื่ งเพศธรรม (Sexuality) ภาษาไทยใชค้ ำ� วา่ “เพศวถิ ”ี หรอื “เพศธรรม” หมายถงึ
ระบบความคิดความเชื่อเร่ืองเพศท่ีไม่ใช่เพศในเชิงชีววิทยาหรือกายวิภาคของบุคคล ในปลายศตวรรษท่ี
19 และ 20 ไดม้ ีการร้อื แนวคดิ เรอื่ ง “เพศ” ท่ีตดิ ตัวมนุษย์ โดยแยกแยะระหวา่ ง “เพศทางชีวภาพ” และ
“เพศทางสงั คม” ซงึ่ หมายถงึ เพศทส่ี งั คมประกอบสรา้ งขนึ้ (construct) กลา่ วคอื ในขณะทเี่ พศทางชวี ภาพ
นัน้ มลี ักษณะเหมือนกนั ในทุกสงั คมและเป็นสากล เช่น รูปรา่ ง สรีระ หนา้ ตา อวัยวะเพศของหญิงและชาย
ส่วนเพศทางสังคมน้ันจะแตกต่างไปตามวัฒนธรรมของแต่ละสังคม ผู้หญิงในสังคมส่วนใหญ่ถูกอบรม
บ่มเพาะใหม้ ลี ักษณะนสิ ยั ทอ่ี ่อนโยน ทำ� งานบา้ นการเรอื น ทำ� กบั ข้าว แตผ่ หู้ ญงิ ในอกี สงั คมหนงึ่ กลบั ตอ้ ง
ออกไปท�ำสงครามหรอื หาอาหาร ผชู้ ายมีหน้าทห่ี ุงหาอาหารและเลย้ี งลกู เป็นต้น
จาก 3 แนวคิดข้างตน้ ไดก้ อ่ ให้เกดิ แนวคดิ สตรนี ิยมออกไปอีกหลายแนวทางด้วยกนั ส่วนในการ
ศกึ ษาเรอื่ งสอ่ื กบั สตรนี นั้ แวน ซเู นน (Zoonen, 1994 อา้ งถงึ ในกาญจนา แกว้ เทพ, 2554) ไดจ้ ำ� แนกกลมุ่
ผู้สนใจศึกษาประเด็นเร่ืองสื่อมวลชนกับบทบาทหญิงชายออกไปตามจุดยืนของกลุ่มสตรีนิยมแต่ละกลุ่ม
ดงั น้ี
1. กลุ่มสตรีนิยมแนวเสรีนิยม (Liberal Feminism) กลุม่ นี้เหน็ วา่ สังคมกำ� ลังเปลย่ี นแปลงไป
แต่บทบาทของผหู้ ญิงยงั ถกู หยุดย้งั ใหอ้ ยกู่ ับที่ ดงั นัน้ จึงต้องมกี ารพฒั นาผูห้ ญงิ ให้กา้ วหน้าตามไป กล่มุ น้ี
จะไมส่ นใจปัญหาการวิเคราะห์ระบบสังคมโดยรวมเท่าใดนัก