Page 27 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 27

การสอื่ สารชมุ ชนกบั การพฒั นาสตรใี นชมุ ชน 9-17
ฟังเพลง และคอ่ ยๆ ติดต้งั ทัศนะท่ใี ห้ผู้หญิงรับรคู้ วามหมายของ “ความเป็นผู้หญงิ ” ของตนเองในด้านท่ี
เป็นด้านลบทง้ั หมด

2. 	ทัศนะในแง่บวก

       ส�ำหรบั ทศั นะที่มตี อ่ ผู้หญิงในแงบ่ วกน้ัน เมือ่ พจิ ารณาจาก “คำ� ” ทค่ี นไทยใชเ้ รียกผู้เปน็ หัวหน้า
หรือเป็นนาย บ่งฐานะของผมู้ ีอ�ำนาจในการกำ� กบั ควบคุม มักพบว่ามีคำ� ว่า “แม่” อันหมายถึง ผู้ให้ชีวิต
หรือหญิงผู้ให้ก�ำเนิดบุตร หญงิ ผปู้ กปอ้ งคมุ้ ครองและดแู ลรกั ษาซงึ่ เปน็ คำ� ทผ่ี กู โยงกบั ความเปน็ หญงิ อยา่ ง
แนน่ แฟ้น เป็นคำ� ตน้ แทบท้งั สนิ้ เชน่ แมท่ พั แมย่ า่ นาง เปน็ ตน้ สงั คมไทยยงั ใช้คำ� ว่า “แม”่ เรียกส่ิงดงี าม
ตามธรรมชาติอื่นๆ เพื่อยกย่องเทิดทูนในฐานะเป็นผู้ให้ก�ำเนิดและหล่อเล้ียงชีวิต เช่น แม่น้�ำ  แม่โพสพ
แมธ่ รณี เปน็ ตน้ ความหมายของคำ� วา่ แมใ่ นลกั ษณะเชน่ นแ้ี สดงใหเ้ หน็ ชดั เจนวา่ สงั คมไทยแตโ่ บราณยกยอ่ ง
และให้เกียรตผิ ู้หญิง และตระหนกั ในบทบาทหนา้ ท่แี ละบญุ คณุ ของแม่ตอ่ ชีวิตลกู ๆ ดงั เพลงประกอบละคร
คือหัตถาครองพิภพ ทอ่ นหนึง่ ทร่ี ะบุว่า “อนั มอื ไกวเปลไซร้แตไ่ รมา คือหัตถาครองพภิ พจบสากล”

       ดังที่กล่าวไปแล้วว่าในสังคมไทยมีลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมที่แตกต่างจากตะวันตก ดังน้ัน
ทศั นะทีม่ ตี ่อผ้หู ญิงจึงแตกต่างตามไปด้วย โดยสงั คมไทยทศั นะท่ีมีต่อผหู้ ญิงมคี วามแตกตา่ งไปตามแตล่ ะ
ชนชั้น ขณะที่ผู้หญิงชนช้ันสูงในอดีตถูกบังคับให้ยึดติดกับอุดมการณ์แม่บ้านแม่เรือน แต่ผู้หญิงชาวบ้าน
กลับมีท้ังบทบาทของการเป็นแม่และเมียและเป็นผู้ท�ำมาหากินเลี้ยงครอบครัวด้วย ดังจะเห็นได้จาก
วรรณกรรมกระฎุมพี (สนใจ โปรดดู นธิ ิ เอียวศีรวี งศ์, อา้ งแล้ว) ทสี่ ะทอ้ นให้เหน็ ทศั นะของสังคมท่มี ตี ่อ
ผู้หญิงชนชั้นกระฎุมพีท่ีว่า ผู้หญิงเป็นสมาชิกของครอบครัวมีบทบาทเท่าเทียมหรือเกือบเท่าเทียมกับ
ผู้ชายในทางเศรษฐกิจ เป็นผู้หญิงที่ท�ำงานหาเล้ียงครอบครัวเท่าเทียมกับสามี มีสิทธิในการก�ำหนดโชค
ชะตาของครอบครัวเท่าเทียมกับผู้ชาย ส่วนในหมู่ชาวบ้านซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ในสังคมไทยน้ัน ผู้หญิงมี
บทบาททางดา้ นการผลติ อยา่ งสำ� คญั มสี ทิ ธแิ ละอสิ รภาพมากกวา่ ผหู้ ญงิ ในชนชนั้ กระฎมุ พแี ละศกั ดนิ า (ยศ
สนั ตสมบัติ, อา้ งแลว้ : 152-154)

       นอกจากความแตกตา่ งทางชนชั้นจะสง่ ผลตอ่ ทัศนะทีส่ งั คมมตี อ่ ผหู้ ญงิ แล้ว การเปล่ยี นแปลงของ
สังคมที่เอื้อให้ผู้หญิงได้พัฒนาศักยภาพของตนเองยังเป็นตัวแปรส�ำคัญท่ีท�ำให้สังคมมีทัศนะต่อผู้หญิง
เปลยี่ นแปลงตามไปดว้ ย กลา่ วคอื จากผลการศกึ ษาของ สภุ า องั กรุ ะวรานนท์ (อา้ งแลว้ ) ทศี่ กึ ษา ความหมาย
ของค�ำว่า “ผู้หญิง” จากความเปรยี บในเพลงไทยลูกท่งุ และลูกกรงุ ในช่วงปี พ.ศ. 2512-2525 และพบวา่
สว่ นใหญ่จะมีทัศนะต่อผหู้ ญิงในแง่ลบน้ัน เม่ือผู้หญิงมีการศึกษาและเข้าสู่ปริมณฑลแห่งการท�ำงานนอก
บ้าน ทัศนะต่อผู้หญิงมีลักษณะในแง่บวกมากข้ึน ดังผลการวจิ ัยของ จิรเวทย์ รกั ชาติ (อา้ งแลว้ ) ทพี่ บ
วา่ ผ้หู ญิงที่ปรากฏในเพลงสมัยหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครองจนถงึ สมยั ปจั จุบนั มลี ักษณะเปน็ ผู้หญงิ
ขยนั ท�ำงาน ผหู้ ญงิ มคี วามสุข ผ้หู ญิงมชี ื่อเสยี ง ผหู้ ญงิ มีการศกึ ษา ผูห้ ญิงแข็งกร้าว ผหู้ ญงิ เก่ง เปน็ ตน้

       อย่างไรกต็ ามแนวคิด “ผู้หญงิ เกง่ ” ทถ่ี กู ถา่ ยทอดผ่านสื่อมวลชนน้นั เปน็ แนวคิดท่ไี ดร้ บั มาจาก
ตะวนั ตกทเี่ รยี กวา่ เคปเอเปล้ิ วเี มน (Capable Women) คณุ ลกั ษณะของผหู้ ญงิ เกง่ เหลา่ นี้ เมอื่ พจิ ารณา
จากภายนอกจะเห็นว่ามลี กั ษณะคล่องแคลว่ ปราดเปรียว พดู จาฉะฉาน แต่เมอื่ พจิ ารณาถงึ ภายในจะเหน็
ว่าเป้าหมายสูงสุดของผู้หญิงเก่งเหล่าน้ีคือ ต้องการประสบความส�ำเร็จในหน้าที่การงาน และต้องการ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32