Page 32 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 32
9-22 ความรเู้ บ้อื งต้นการสอื่ สารชุมชน
2. ช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
หลงั ชว่ งสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 การพฒั นาสถานภาพของผหู้ ญงิ มคี วามเปน็ รปู เปน็ รา่ งมากขนึ้ โดย
ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ภริยาของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้
ประสานงานกับบุคคลและองค์กรหลายฝ่ายเพ่ือให้การปกป้องสิทธิและปรับปรุงสถานภาพของผู้หญิงใน
หลายๆ ด้าน รวมถึงการก่อต้งั สำ� นกั วัฒนธรรมฝ่ายหญงิ ในปี พ.ศ. 2486 มสี มาชิกจากสโมสรวฒั นธรรม
หญงิ จากทว่ั ประเทศ และเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการพฒั นาองคก์ รมาเปน็ “สภาสตรแี หง่ ชาต”ิ ในปี พ.ศ. 2499
นอกจากนน้ั ยงั ไดพ้ ยายามผลกั ดนั ใหม้ กี ารแกไ้ ขกฎหมายหลายเรอ่ื งทแี่ สดงออกถงึ การกดี กนั ทางเพศ และ
หาแนวทางเพ่ือสร้างความเท่าเทียมท่ีจะให้ผู้หญิงสามารถเข้ารับราชการได้ ในด้านแรงงานมีการออก
กฎหมายบังคับให้ค่าจ้างส�ำหรับงานประเภทเดียวกันได้รับค่าจ้างอัตราเดียวกันทั้งหญิงและชาย (ภัสสร
ลิมานนท,์ 2544: 241)
3. ช่วงหลังสหประชาชาติประกาศปีสตรีสากล พ.ศ. 2518
การกำ� หนดนโยบายของประเทศไทยทีเ่ กย่ี วข้องกับการพฒั นาสตรนี น้ั สว่ นหนึ่งได้รบั อทิ ธพิ ลมา
จากการประชมุ นานาชาตวิ า่ ดว้ ยเรอื่ งสตรซี งึ่ กำ� หนดนโยบายการพฒั นาสทิ ธสิ ตรรี ะดบั โลก ตง้ั แตท่ ศวรรษ
ที่ 1970 เปน็ ตน้ มา เพอ่ื ตอบสนองขอ้ เรยี กรอ้ งจาก ยไู นเตด็ เนชน่ั ส์ เดคารเ์ รชน่ั ออฟ ดิ อนิ เตอรเ์ นชนั่ แนล
วีเมนส์เยียร์ (United Nations Declaration of the International Women’s Year) ในปี พ.ศ. 2518
และ ยไู นเต็ด เนชั่นส์ เดเคดส์ ฟอร์ วีเมน (United Nations Decades for Women) ปี พ.ศ. 2519-
2523 หรอื ทศวรรษแหง่ การสง่ เสรมิ สตรี รฐั บาลไทยไดจ้ ดั ตงั้ คณะกรรมการพฒั นาสตรรี ะดบั ชาตริ บั ผดิ ชอบ
ในการวางแผนและน�ำแผนปฏิบัติการที่ตกลงในท่ปี ระชุมนานาชาติมาใช้ในประเทศไทย
ประเดน็ การพฒั นาสตรเี รม่ิ ถกู หยบิ ยกขน้ึ มาเปน็ ประเดน็ อยา่ งชดั เจนในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่ง
ชาติฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2520-2524) ในแงท่ ว่ี ่า ผู้หญิงเป็นทรพั ยากรมนษุ ย์ที่เปน็ ปจั จัยสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ในการ
พฒั นาประเทศ ดงั นน้ั จงึ ไมค่ วรถกู มองขา้ มและปลอ่ ยใหส้ ญู เปลา่ เนอื่ งจากประชากรทเ่ี ปน็ ผหู้ ญงิ มปี ระมาณ
ครึ่งหนึ่งของจ�ำนวนประชากรทั้งหมด หากได้รับการส่งเสริมให้มีบทบาทต่อการพัฒนาประเทศอย่างเป็น
ระบบ จะสง่ ผลดตี อ่ เศรษฐกจิ และสงั คมสว่ นรวมของประเทศ ทงั้ นไี้ ดร้ ะบใุ ห้ผู้หญิงเป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีต้อง
เร่งพัฒนาทั้งดา้ นการศกึ ษา การมงี านท�ำ การฝกึ อาชพี การปรับปรุงและแกไ้ ขกฎหมายทีข่ ดั ขวางความ
เป็นธรรมและสิทธเิ สมอภาค รวมทง้ั เนน้ การคุ้มครองแรงงานผู้หญงิ
แผนพฒั นาเศรษฐกิจแหง่ ชาตฉิ บับท่ี 4 รฐั บาลก�ำหนดแนวทางการพัฒนาสตรไี ว้ 3 ดา้ น คอื
1) ด้านการศึกษา การศึกษาตอ่ เน่อื ง
2) ด้านเศรษฐกจิ เนน้ การประกอบอาชพี มสี ทิ ธเิ ท่าเทยี มผู้ชายและคุ้มครองแรงงานสตรี
3) ดา้ นสังคม ปรับปรงุ กฎหมายท่ีเกี่ยวกบั ผหู้ ญิง
ในด้านการพัฒนาชุมชน มีการด�ำเนินการการส่งเสริมอาชีพ เพื่อรายได้ท้ังในระยะส้ันและระยะ
ยาว การเพ่ิมพูนทักษะด้านการตลาด จัดต้ังกลุ่มออมทรัพย์และองค์กรผู้หญิงในระดับต่างๆ ตั้งแต่ระดับ
หม่บู า้ นจนถงึ ระดับจงั หวดั ต้ังคณะกรรมการพฒั นาสตรหี ม่บู ้าน (กพสม.) และคณะกรรมการพัฒนาสตรี
ต�ำบล (กพสต.)