Page 34 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 34

9-24 ความรูเ้ บื้องต้นการสือ่ สารชุมชน
       ในการพฒั นาชมุ ชนนนั้ โครงการทรี่ ฐั มกั จะใหก้ ารสนบั สนนุ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพสตรที อี่ ยใู่ นชมุ ชน

น้ัน มี 2 ประเภท คอื
       1.	 โครงการทเี่ นน้ กล่มุ สตรี หน่วยงานรัฐสว่ นใหญม่ องผหู้ ญงิ ในฐานะท่ีเปน็ “แม่บา้ น” จึงมงุ่ ไป

ท่ีการมีส่วนร่วมของผู้หญิงในกิจกรรมภายในบ้าน (domestic activities) และพัฒนาชุมชนในชนบท
ผ้หู ญิงจะถูกตง้ั ใหเ้ ป็นกลมุ่ เชน่ กล่มุ แมบ่ า้ น หรือกล่มุ ผหู้ ญิง อบรมดา้ นเศรษฐกจิ การเตรยี มอาหาร การ
ถนอมอาหาร และสหกรณ์ สว่ นกจิ กรรมที่ให้ความรูส้ ว่ นใหญ่เป็นการอบรมอาชีพเสรมิ หรอื อบรมแมบ่ ้าน
ทเ่ี ก่ยี วกบั ทักษะในการจดั กลุ่ม การบญั ชี และการตลาด เป็นต้น

       2.	 โครงการทไ่ี ม่เน้นผหู้ ญงิ ในฐานะทเ่ี ปน็ กลมุ่ เปา้ หมาย โครงการสว่ นใหญจ่ ะเนน้ การอบรม การ
ถา่ ยทอดเทคนิค ซ่ึงมี 2 ประเภท คอื

            2.1	 โครงการถา่ ยทอดเทคนคิ ทเ่ี นน้ กลมุ่ เป้าหมายท่ีเปน็ ผชู้ าย
            2.2	โครงการถ่ายทอดเทคนิคที่ไม่เน้นกลุ่มเป้าหมายน้ัน ไม่มีความแตกต่างระหว่างเพศ
และกิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรก็ไม่มีความแตกต่างระหว่างเพศ เน่ืองจากในสังคม
ชนบทการท�ำการเกษตรทั้งหญิงและชายมีบทบาทไม่แตกต่างกันมากนัก อย่างไรก็ตามการเข้าร่วมการ
อบรมกลบั มผี หู้ ญงิ เข้ารว่ มไม่มากนัก
       จะเห็นได้วา่ การวางแผนพฒั นาของชาตทิ ่เี กดิ ขน้ึ ในชว่ งน้ี ตง้ั อย่บู นฐานความคิดท่ีสัมพนั ธก์ ับข้อ
เสนอของสหประชาตทิ วี่ า่ ผู้หญิงไทยโดยเฉพาะในชนบทอยู่ในสถานะที่ด้อย ขาดการศึกษา ไม่มีบทบาท
ทางสงั คมและเศรษฐกิจ ไมไ่ ด้ช่วยพฒั นาประเทศ ดงั นน้ั ผ้หู ญิงในชนบทจ�ำเปน็ “ตอ้ งไดร้ ับการพฒั นา”
หรอื อกี นยั หนึ่งก็คือ ผู้หญิงชนบทเป็นเป้าหมาย (target) ในการพฒั นา อยา่ งไรก็ตาม วารณุ ี ภรู ิสนิ สทิ ธ์ิ
(อา้ งแลว้ : 198) ไดแ้ ยง้ ประเดน็ นดี้ ว้ ยหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษจ์ ากการศกึ ษาเกย่ี วกบั ผหู้ ญงิ ในชนบทยอ้ นหลงั
ไป 40-50 ปี รวมทง้ั การเปลี่ยนแปลงทเี่ กดิ ข้ึนในชว่ งเวลาดังกล่าว ซ่ึงพบวา่ ผู้หญิงในชนบทไทยไม่ได้
ต�่ำต้อยหรือไม่มีบทบาททางเศรษฐกิจและสังคมท่ีถูกท�ำให้เข้าใจกัน หากแต่ผู้หญิงเป็นผู้สืบทอดความ
ต่อเนื่องของครอบครัว สบื ทอดทด่ี นิ ทำ� กนิ ของชมุ ชน มสี ว่ นรว่ มอยา่ งเตม็ ทใี่ นเศรษฐกจิ ของครอบครวั ไม่
ว่าจะเป็นการเขา้ ร่วมในการผลติ ทางเกษตร หรือเปน็ แมค่ ้าทเ่ี ป็นอาชพี หลักของผู้หญงิ ไทย นอกจากน้ยี งั
เปน็ ผสู้ นบั สนนุ และมสี ว่ นรว่ มในการรกั ษาพธิ กี รรมความเชอ่ื ของชมุ ชนอยา่ งเขม้ แขง็ แตเ่ พราะแผนพฒั นา
ของชาตทิ เ่ี ขา้ ไปในชมุ ชนในชว่ ง 20-30 ปที ผี่ า่ นมาตา่ งหาก ทท่ี ำ� ใหผ้ หู้ ญงิ ชนบทตกอยใู่ นสถานะทต่ี ำ่� ตอ้ ย
ดอ้ ยโอกาส และดอ้ ยพฒั นา
       ส�ำหรับผู้หญิงท่ีอยู่ในชุมชนและท้องถิ่นต่างๆ กิจกรรมยุคแรกของการประกาศทศวรรษสตรี
สากลที่องค์กรท้ังภาครัฐและเอกชนได้จัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพของผู้หญิงนั้น ส่วนใหญ่มี
วัตถุประสงค์ด้านสวัสดิการสังคม เชน่ กลมุ่ แมบ่ า้ น กลมุ่ ออมทรพั ย์ กจิ กรรมสว่ นใหญจ่ งึ มลี กั ษณะทเ่ี นน้
การประกอบอาชพี เช่น การเยบ็ ผา้ การทำ� อาหาร กิจกรรมสาธารณสุข ศนู ยเ์ ด็กเลก็ ฯลฯ จะเหน็ ไดว้ า่
กจิ กรรมเหลา่ นเ้ี ปน็ กจิ กรรมทไ่ี มแ่ ตกตา่ งจากบทบาทเดมิ ของผหู้ ญงิ อยา่ งไรกต็ ามผลดที เี่ กดิ ขนึ้ คอื ผหู้ ญงิ
มโี อกาสไดเ้ รยี นรกู้ ารทำ� งานกลมุ่ การตดิ ตอ่ กบั แหลง่ ทรพั ยากรภายนอกชมุ ชน มโี อกาสแสดงความสามารถ
ในการทำ� งานซงึ่ ทำ� ใหไ้ ดร้ บั การยอมรบั จากครอบครวั ชมุ ชน และทส่ี ำ� คญั คอื มโี อกาสใหส้ รา้ งความเชอ่ื มน่ั
ในตนเองได้มากกว่าการท่ีจะไปเรมิ่ ทำ� งานในกลมุ่ ผ้นู �ำชาย
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39