Page 43 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 43

การสือ่ สารชมุ ชนกบั การพัฒนาสตรีในชมุ ชน 9-33

เร่ืองที่ 9.2.1
การส่ือสารของสตรีในชุมชน

       “ผหู้ ญงิ ” และ “ชมุ ชน” เป็นหัวขอ้ สำ� คญั ส�ำหรับการพฒั นาประเทศ นกั พฒั นาหลายคนมองว่า
หากสามารถพัฒนาผู้หญิงและชุมชนได้ก็ย่อมท�ำให้ประเทศพัฒนาตามไปด้วย เนื่องจากผู้หญิงเป็นส่วน
หนึง่ ของชุมชน อีกท้ังครงึ่ หนึง่ ของประชากรทง้ั ประเทศเป็นผ้หู ญงิ นักการส่อื สารเพอ่ื การพัฒนาจงึ มุ่งหา
แนวทางการพฒั นาดว้ ยการใชก้ ารสอ่ื สารเปน็ ตวั กระตนุ้ และสง่ เสรมิ บทบาทของผหู้ ญงิ ทอี่ ยใู่ นชมุ ชน ซงึ่ ใน
อดีตที่ผ่านมาสื่อมวลชนถูกใช้เป็นเครื่องมืออย่างแพร่หลาย ทั้งนี้ด้วยคุณลักษณะของส่ือท่ีสามารถเข้าถึง
คนหมู่มากและมคี วามทนั สมยั จงึ นา่ จะเหมาะกบั การพัฒนาในวงกว้าง

       อยา่ งไรกต็ ามการใชส้ อื่ มวลชนเปน็ เครอื่ งมอื ในการพฒั นานนั้ มกั จะมแี นวโนม้ วา่ จะถกู กำ� หนดจาก
รัฐมากกว่าตัวชุมชนเอง ท�ำให้เกิดปัญหาความย่ังยืนในการใช้และจิตส�ำนึกในการเป็นเจ้าของ เน่ืองจาก
ไม่ใช่สื่อของชุมชนตั้งแต่แรก ดังน้ันนักการส่ือสารเพ่ือการพัฒนาจึงเร่ิมหาส่ือชนิดอ่ืนมาใช้ในการพัฒนา
ส่ือทถ่ี ูกน�ำมาใช้ ได้แก่ สอ่ื ดัง้ เดิมอย่างสอ่ื บุคคล เครือขา่ ยการสือ่ สารในชมุ ชน สือ่ พน้ื บา้ น สือ่ ชุมชน หรอื
แม้แต่สอื่ ท่ีประยุกตจ์ ากส่อื มวลชน เช่น หนงั สอื พิมพช์ ุมชน โทรทัศน์ชุมชน วทิ ยชุ ุมชน หอกระจายขา่ ว
และสอื่ ใหมอ่ ยา่ งอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ตน้ ซง่ึ สอ่ื ดงั กลา่ วเปน็ สอื่ ทอ่ี ยใู่ นพน้ื ทชี่ มุ ชนอยแู่ ลว้ และเนน้ การสอ่ื สาร
สองทางทท่ี ำ� ใหค้ นในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั การใชส้ อ่ื ทม่ี อี ยแู่ ลว้ ในชมุ ชนทำ� ใหช้ มุ ชนมคี วามใกลช้ ดิ
และรสู้ กึ ถงึ ความเปน็ เจา้ ของ (กำ� จร หลยุ ยะพงศ,์ 2558: คำ� นำ� ) ซงึ่ กไ็ มต่ า่ งไปจากกรณชี มุ ชนสตรที จี่ ำ� เปน็
ตอ้ งมกี ารใช้การสอ่ื สารพเิ ศษ

       ก่อนที่จะก้าวไปสู่การส่ือสารของสตรีในชุมชน จะขอแยกให้เห็นก่อนว่า ชุมชนมีความหมาย 2
แบบ คือ ชุมชนเชงิ พน้ื ท่ีกายภาพ และชมุ ชนเชงิ จิตใจ ซึง่ จะมีผลต่อการใชก้ ารสื่อสารท่ีแตกต่างกัน

1. 	ชุมชนในความหมายเชิงพื้นท่ีกายภาพ

       ชมุ ชนในความหมายเชงิ พนื้ ทก่ี ายภาพ หมายถงึ การรวมตวั กนั ของผคู้ นในเชงิ พน้ื ทท่ี างกายภาพ
(physical space) ทม่ี อี าณาเขตทแ่ี นน่ อนในชว่ งเวลาใดเวลาหนง่ึ ซง่ึ คนในพน้ื ทม่ี คี วามผกู พนั กนั บางอยา่ ง
โดยเฉพาะความสัมพันธ์ทางเครือญาติน้ัน ชุมชนในลักษณะน้ีผู้หญิงมีสถานะเป็นสมาชิกในชุมชนและ
เปน็ สว่ นหนง่ึ ของสงั คม ดงั นน้ั การพฒั นาศกั ยภาพของผหู้ ญงิ กเ็ ทา่ กบั พฒั นาสงั คมไปดว้ ย การพฒั นาชมุ ชน
ในระยะแรกนน้ั รฐั มงุ่ พฒั นาชมุ ชนในชนบท มพี น้ื ฐานจากปรชั ญาการพฒั นาแบบการทำ� ใหท้ นั สมยั (moder-
nisation) ท่ีมองว่าชนบทเป็นพ้ืนท่ีท่ีด้อยพัฒนา ดังนั้นต้องพัฒนาให้มีความเป็นเมือง (urbanisation)
ผู้หญิงในชุมชนต้องมีบทบาทในการสร้างการบริโภคท่ีถูกสุขลักษณะ ผู้หญิงต้องมีความรู้เก่ียวกับการคุม
ก�ำเนิด เป็นตน้

       ในการเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มของผหู้ ญงิ ในการพฒั นาชมุ ชนนน้ั ลกั ษณะของพนื้ ทเ่ี ปน็ ปจั จยั หนง่ึ ทสี่ ง่ ผล
ต่อระดับการมีส่วนร่วมของผู้หญิง (เนตรดาว แพทยกุล, 2544 และวิษณุ สุจินพรหม, 2544) กล่าวคือ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48