Page 47 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 47
การสื่อสารชมุ ชนกับการพฒั นาสตรใี นชมุ ชน 9-37
ตรงั (ชน่ื กมล ทพิ ยกลุ , 2543) และงานวจิ ยั เรอ่ื ง “เครอื ขา่ ยการสอ่ื สารกบั ศกั ยภาพการดำ� รงอยขู่ องชมุ ชน:
ศกึ ษากรณี ต�ำบลทงุ่ ขวาง อำ� เภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี (สมสุข หนิ วิมาน และคณะ, อ้างแลว้ ) ท่พี บวา่
พื้นท่ีร้านกาแฟเป็นพ้ืนท่ีในการส่ือสารพื้นท่ีหน่ึง แต่ส่ิงท่ีน่าสังเกตคือพ้ืนท่ี “สภากาแฟ” ในจังหวัดตรัง
หรือ “โรงร้าน” ในชุมชนทุ่งขวางนั้นส่วนใหญ่จะเป็นผู้ชายท่ีจะใช้พูดคุยกันถึงเรื่องราวในชุมชน เช่น
เศรษฐกจิ ของหมู่บา้ น ราคาพืชผล ตรวจสอบการทำ� งานของผู้น�ำชุมชน ไปจนถงึ การเมอื งระดบั ชาติ
เมอื่ พจิ ารณาจากลกั ษณะการบรโิ ภคแลว้ กเ็ ปน็ ไปไดว้ า่ สว่ นใหญแ่ ลว้ การดมื่ กาแฟเปน็ กจิ กรรมที่
มักจะท�ำในช่วงเช้าไม่ได้เกิดขึ้นตลอดวัน ซ่ึงส�ำหรับผู้หญิงหรือแม่บ้านแล้ว ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นเวลาที่
แมบ่ า้ นตอ้ งดแู ลเรอื่ งกบั ขา้ ว อาหารการกนิ ใหส้ มาชกิ ในครอบครวั เพอ่ื เตรยี มออกไปท�ำงานหรอื ไปโรงเรยี น
แมบ่ ้านจึงไม่ค่อยไดใ้ ช้พน้ื ทรี่ า้ นกาแฟเป็นพนื้ ทกี่ ารสื่อสารของกล่มุ ผู้หญงิ มากนัก
7. พื้นท่ีศักดิ์สิทธิ์ ในงานวจิ ยั ของวษิ ณุ พบวา่ ผหู้ ญงิ จะมตี วั ตนอยใู่ นพนื้ ทท่ี ไ่ี มเ่ ปน็ ทางการ เชน่
งานประเพณพี ิธีกรรมของชุมชน รา้ นคา้ รา้ นเสริมสวย ดงั ที่ได้กลา่ วไปแล้ว ซึ่งพนื้ ทเี่ หล่านั้นอาจกลา่ วได้
วา่ เปน็ พนื้ ทแี่ บบผหู้ ญงิ ขณะทพ่ี นื้ ทที่ ม่ี ลี กั ษณะเปน็ ทางการ เชน่ การประชมุ เปน็ พน้ื ทที่ แี่ สดงถงึ ความเปน็
ชาย ผหู้ ญงิ จงึ ถกู ปดิ กน้ั ไมใ่ หม้ สี ทิ ธม์ิ เี สยี ง หรอื มหี นา้ ทเี่ ปน็ เพยี งผฟู้ งั เทา่ นนั้ ดงั นนั้ ผหู้ ญงิ จงึ เรยี นรทู้ จ่ี ะใช้
ความสมั พนั ธ์เชิงอ�ำนาจในพ้นื ทศ่ี กั ดส์ิ ิทธข์ิ องประเพณคี วามเชื่อในชมุ ชน ซ่งึ เป็นพ้ืนท่ที ีไ่ มเ่ ป็นทางการใน
การกดดันผู้ชายในบางประเด็น เช่น ในชุมชนทุ่งยาวมีผู้หญิงช่ือแม่หลวงเอื้อย ซ่ึงได้รับการยอมรับจาก
ชมุ ชนบา้ นทุ่งยาวในฐานะท่ีเป็นทายาทของผู้ก่อตัง้ ชุมชน และเปน็ ผูท้ ี่ท�ำหนา้ ท่ีเปน็ “สื่อ” กบั เจ้าท่หี รือผี
ซงึ่ เปน็ สงิ่ ทชี่ าวบา้ นในชนบทลา้ นนาใหค้ วามเคารพ เมอ่ื พธิ กี รรมเลย้ี งผฝี ายถกู เปลยี่ นแปลงโดยกลมุ่ ผชู้ าย
เสนอใหม้ วี งดนตรไี ปบรรเลงในพน้ื ทปี่ า่ นำ้� จำ� ขณะทผี่ หู้ ญงิ ในชมุ ชนไมเ่ หน็ ดว้ ยเนอื่ งจากเหน็ วา่ จะเปน็ การ
สนิ้ เปลอื งโดยใชเ่ หตุ แตเ่ มอื่ แสดงความคดิ เหน็ คดั คา้ นไปแลว้ ผชู้ ายไมเ่ หน็ ดว้ ย หลงั เสรจ็ พธิ กี รรมแมห่ ลวง
เออื้ ยจงึ ไดแ้ จง้ ใหช้ มุ ชนทราบวา่ ตนฝนั วา่ เจา้ ปา่ ไมพ่ อใจทม่ี กี ารนำ� ดนตรเี ขา้ ไปบรรเลงในพนื้ ทปี่ า่ จงึ ทำ� ให้
พธิ กี รรมเลย้ี งผฝี ายในปีต่อมาไมม่ ีวงดนตรีไปบรรเลงอีก
กลา่ วไดว้ า่ พ้ืนท่ี/สถานท่ี มีการแบ่งแยกทางเพศ (gendered space) ทั้งหญิง-ชาย แต่ละพ้ืนที่/
สถานที่ มีการแสดงทางเพศแตกต่างกัน ขณะเดียวกันพื้นท่ี/สถานท่ีก็เป็นตัวสะท้อนความขัดแย้งใน
ตัวเอง เน่อื งจากในแตล่ ะพน้ื ท่มี กี ารปดิ กัน้ และกดทบั ทางเพศ เชน่ ศาลาวดั ในงานวิจัยของวิษณุ ทปี่ ดิ กน้ั
ไม่ให้ผู้หญิงมีสิทธ์ิมีเสียง มีหน้าท่ีในการเป็นผู้ฟัง เป็นสถานท่ีที่ผู้หญิงต้องสงบ เรียบร้อย ส่วนสถานท่ี
ที่ผู้หญิงสามารถแสดงออกได้อย่างอิสระคือพ้ืนท่ี/สถานที่ท่ีไม่เป็นทางการ เช่น ร้านค้า ร้านเสริมสวย
ทไี่ ดช้ อ่ื วา่ เปน็ พน้ื ทข่ี องผหู้ ญงิ เปน็ ตน้ ซง่ึ สง่ ผลตอ่ บทบาทและระดบั การมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาของผหู้ ญงิ
ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ พนื้ ทใี่ นการสอื่ สารของผหู้ ญงิ ดว้ ย เนอื่ งจากตวั พนื้ ท/ี่ สถานทถี่ กู คา่ นยิ มและวธิ คี ดิ ของ
สังคมแบบชายเป็นใหญ่ก�ำหนดผู้ใช้พื้นท่ี รูปแบบ ลักษณะการสื่อสาร ซ่ึงอาจส่งผลต่อระดับของการมี
สว่ นร่วมในการสอ่ื สารของผ้หู ญิง จากงานวจิ ยั ของวิษณุ ไดช้ ี้ให้เหน็ วา่ หากพ้ืนทใี่ นการสือ่ สารเป็นพื้นที่
แบบผชู้ ายแลว้ การมีส่วนรว่ มของผู้หญิงจะลดนอ้ ยลง ท้งั น้ีเป็นเพราะผหู้ ญงิ ตระหนักว่าพ้นื ท่ีนัน้ ๆ ไม่ใช่
พ้นื ท่ขี องตนเอง จึงท�ำใหไ้ มส่ ามารถแสดงความคดิ เหน็ และมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจไดอ้ ย่างเต็มที่
จากการใชพ้ น้ื ทกี่ ารสอื่ สารในชวี ติ ประจำ� วนั ของผหู้ ญงิ นนั้ ผเู้ ขยี นเหน็ วา่ นกั สอื่ สารเพอ่ื การพฒั นา
สามารถน�ำพ้ืนท่ีดังกล่าวมาใช้เป็นพ้ืนที่เพ่ือขับเคล่ือนประเด็นการพัฒนาชุมชนได้เป็นอย่างดี ทั้งน้ี