Page 12 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 12
3-2 การศกึ ษาชมุ ชนเพอ่ื การวิจยั และพฒั นา
แผนการสอนประจ�ำหน่วย
ชุดวชิ า การศึกษาชุมชนเพอื่ การวจิ ัยและพฒั นา
หนว่ ยท่ี 3 การศึกษาและวิเคราะห์ชมุ ชนเพอ่ื การวจิ ยั การสอื่ สารชุมชน
ตอนที่
3.1 แนวคิดเบื้องต้นของการวิเคราะหช์ ุมชน
3.2 เครอื่ งมือและเทคนคิ การวเิ คราะหช์ ุมชน
3.3 กระบวนการวเิ คราะห์ชมุ ชนและแนวทางปฏิบัติการวจิ ยั การสื่อสารชุมชน
แนวคิด
1. การวิเคราะห์ชมุ ชน หมายถึง การแยกแยะรายละเอียดของชมุ ชนทจี่ ะศึกษาให้เดน่ ชัด ทงั้ สิ่ง
ที่มองเห็นและมองไม่เห็น ซ่ึงจะมีประโยชน์ในการเห็นรายละเอียดความแตกต่างของแต่ละ
ชุมชน และหากเป็นการวิเคราะหจ์ ากชมุ ชนกจ็ ะชว่ ยในการวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม
ท้ังน้ี แนวทางการวิเคราะห์ชุมชนมีความหลากหลายอย่างน้อย 10 ด้าน และการวิเคราะห์
ชมุ ชนสามารถวเิ คราะหไ์ ด้ 7 ประเดน็
2. เครอ่ื งมือในการวเิ คราะหช์ มุ ชนจ�ำแนกได้เป็นเครอ่ื งมอื เชิงปริมาณ และเครือ่ งมือเชิงคุณภาพ
โดยส่วนใหญ่มักจะใช้เครื่องมือเชิงคุณภาพ ส�ำหรับเทคนิคการวิเคราะห์ชุมชนจะเป็นเทคนิค
ทน่ี ยิ มใชใ้ นการวเิ คราะหช์ มุ ชน โดยมกั จะหยบิ เครอื่ งมอื ทง้ั เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพมาชว่ ยใน
การวิเคราะหด์ ้วย
3. ในอดีตการวิเคราะห์ชุมชนมักจะใช้กระบวนการวิจัยจากภายนอกชุมชน แต่ในปัจจุบันเริ่ม
พัฒนาสู่การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซ่ึงเน้นการปฏิบัติการเพ่ือการเปลี่ยนแปลงใน
ชุมชน แต่ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการใด แนวทางปฏิบัติก็จะต้องประกอบด้วยขั้นตอนสาม
ขัน้ ตอนคอื กอ่ นการลงชุมชน ขน้ั ลงชมุ ชน และหลังจากลงชุมชน
วัตถุประสงค์
เมื่อศกึ ษาหน่วยที่ 3 จบแลว้ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายแนวคิดเบ้ืองต้นของการวเิ คราะห์ชุมชนได้
2. อธิบายเคร่ืองมือและเทคนิคการวเิ คราะหช์ ุมชนได้
3. อธบิ ายกระบวนการวิเคราะห์ชมุ ชนและแนวทางปฏบิ ัติการวจิ ยั การสอื่ สารชมุ ชนได้