Page 16 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 16

3-6 การศึกษาชุมชนเพอ่ื การวจิ ัยและพัฒนา
หรือเสียงตามสาย ชุมชนคนอีสานก็มักจะใช้หมอล�ำเป็นสื่อที่สร้างความบันเทิง ส่วนแฟนคลับคนรักบอล
ก็จะใชก้ ารส่อื สารผ่านเครอื ข่ายออนไลนพ์ ร้อมท้งั การร่วมรับชมฟุตบอลในสนามจริง เปน็ ตน้

       นอกจากนน้ั สมสขุ หนิ วมิ าน (2553, น. 226) ยงั ขยายความเพม่ิ เตมิ วา่ การศกึ ษาชมุ ชนกบั การ
สอ่ื สารยงั ขยายไปถงึ บรบิ ทหรอื สภาพของชมุ ชนแตล่ ะแหง่ ทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ การสอื่ สารชมุ ชนแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
เช่น ชุมชนชาวเลท่ีภูมศิ าสตร์เป็นพนื้ ทีต่ ดิ ทะเลการส่อื สารด้วยหอกระจายข่าวกอ็ าจไม่ชัดเจน จ�ำเปน็ ต้อง
ใชก้ ารสอ่ื สารเสียงตามสาย และส่อื บคุ คล ในทางกลบั กันหากเป็นชุมชนภาคเหนือการใชห้ อกระจายข่าวก็
อาจประสบความส�ำเร็จ แต่ก็จ�ำเป็นต้องใช้ภาษาถิ่นหรือภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ หรือในกรณีของชุมชน
บางแหง่ ทมี่ ผี นู้ ำ� เปน็ สตรกี จ็ ะพบวา่ สตรจี ะเขา้ ไปเปน็ ผผู้ ลติ รายการวทิ ยกุ ระจายเสยี งไดม้ ากกวา่ ชมุ ชนอน่ื ๆ

       การวเิ คราะหช์ มุ ชนจงึ ทำ� ใหเ้ หน็ ลกั ษณะของชมุ ชนแตล่ ะชมุ ชนทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั และหากเปน็
กรณีของการวิเคราะห์ชุมชนเพื่อการสื่อสารชุมชนก็จะพบว่า การสื่อสารแต่ละชุมชนมีความแตกต่างกัน
และบรบิ ทกจ็ ะเปน็ ตวั กำ� หนดการสอื่ สารนน้ั ดว้ ย การวเิ คราะหช์ มุ ชนกจ็ ะทำ� ใหเ้ ขา้ ใจถงึ การสอ่ื สารในแตล่ ะ
ชมุ ชนน้ันจะมคี วามต่างกันอย่างไร

2. 	 ความส�ำคัญของการวิเคราะห์ชุมชน

       การวเิ คราะหช์ มุ ชนมคี วามส�ำคญั ดังต่อไปน้ี
       1) 	ชุมชนแต่ละแหง่ มีความแตกตา่ งกัน เปรยี บได้ดงั ผนื ดินท่ีเป็นแหลง่ เพาะปลกู ต้นไม้ ตน้ ไมจ้ ะ
มีความแตกต่างกันบนผืนดินแต่ละแห่ง การวิเคราะห์ชุมชนก็จะท�ำให้เข้าใจถึงท่ีมา ปัญหา ทุน ที่ท�ำให้
สภาพของแตล่ ะแหง่ ไมเ่ หมอื นกนั ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ เมอ่ื เปน็ กรณกี ารวจิ ยั การสอ่ื สารชมุ ชนการวเิ คราะหช์ มุ ชน
นอกจะทำ� ใหเ้ หน็ การสอื่ สารทแี่ ตกตา่ งกนั ของแตล่ ะชมุ ชนแลว้ ยงั ทำ� ใหเ้ หน็ ถงึ บรบิ ทของชมุ ชนทที่ ำ� ใหก้ าร
สือ่ สารไม่เหมือนกนั
       2) 	ในทศั นะของนกั พฒั นา การวเิ คราะหช์ มุ ชนกเ็ พอื่ การทำ� ความเขา้ ใจชมุ ชน ถงึ ปญั หา จดุ เดน่ -
จุดดอ้ ย และนำ� ไปสกู่ ารแก้ไขและพฒั นาชมุ ชนในด้านตา่ งๆ ทั้งการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม
       3) 	การวิเคราะหช์ ุมชนยงั ท�ำให้เกิดการทบทวนอดีต และปจั จบุ นั ของชุมชน อนั นำ� ไปสู่การแก้ไข
ปัญหาของชุมชน และย่ิงเป็นการวิเคราะห์ด้วยคนในชุมชนก็ถือได้ว่า เป็นการทบทวนตัวเอง (self-
reflection) ท�ำใหห้ วนระลกึ ถึงปญั หาทบทวนการท�ำงานและมองไปสอู่ นาคต ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ ยังสรา้ งความ
มนั่ ใจใหก้ บั คนในชมุ ชนวา่ ปญั หาเปน็ สง่ิ ทค่ี นในชมุ ชนแกไ้ ขไดห้ าใชก่ ารจดั การจากสว่ นกลางแตเ่ พยี งดา้ น
เดียว (กาญจนา แกว้ เทพ, 2538)
       4) 	ส�ำหรับนักวิจัยการส่ือสารชุมชน นอกจากการวิเคราะห์เพื่อจะท�ำให้ทราบความแตกต่างของ
ชุมชนท่ีมีผลต่อการสื่อสารแล้ว การวิเคราะห์ชุมชนยังก้าวไปสู่การก�ำหนดโจทย์การวิจัยท่ีมาจากปัญหา
ของชุมชนอย่างแท้จริง ตลอดจนการหาแนวทางการแก้ไขปัญหา ซึ่งมาจากชุมชน และการก้าวไปสู่การ
วจิ ัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วนรว่ ม (participatory action research) หรอื การให้คนในชุมชนได้ก้าวมามี
ส่วนร่วม แนวทางการวิจัยแบบมีส่วนร่วมน้ีจะต่างไปจากในอดีตที่มาจากภาครัฐท่ีก�ำหนดมาแต่เพียง
อยา่ งเดยี ว
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21