Page 20 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 20
3-10 การศึกษาชุมชนเพือ่ การวิจัยและพัฒนา
ดงั ตวั อยา่ งของงานของกาญจนา แกว้ เทพ (2538, น. 202) ระบวุ า่ การวเิ คราะหเ์ ชงิ ประวตั ศิ าสตร์
จะทำ� ใหเ้ หน็ มมุ มองทอ่ี าจมองไมเ่ หน็ ในปจั จบุ นั เชน่ หากเหน็ คนเฒา่ คนแกใ่ นปจั จบุ นั กอ็ าจเหน็ ความออ่ นแรง
แต่เม่ือย้อนไปในอดีตก็อาจมองเห็นว่า คนกลุ่มนี้คือคนท่ีมีศักยภาพและช่วยพัฒนาหมู่บ้าน ดังนั้น ถ้ามี
การถอดบทเรยี นการดำ� เนนิ งานหรอื ใหค้ นเหลา่ นเี้ ปน็ ทปี่ รกึ ษากจ็ ะอาจทำ� ใหก้ ารทำ� งานมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ
การวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์สามารถพิจารณาได้หลากหลายด้านนับต้ังแต่สิ่งท่ีมองเห็น ได้แก่
ผู้คน พืน้ ท่เี ชงิ กายภาพ สถาบันในชุมชน และกจิ กรรมต่างๆ ในชุมชน รวมถงึ การพิจารณาลงลกึ ไปถงึ สิง่
ทีม่ องไมเ่ หน็ เช่น ความเชอ่ื วัฒนธรรม เพือ่ ดวู า่ มีการเปลี่ยนแปลงหรอื ไมอ่ ยา่ งไร
งานของกุลธดิ า อ่บู ูรณกลุ และกาญจนา แกว้ เทพ (2555) ศกึ ษากระบวนการส่ือสารเพอ่ื สืบทอด
ประเพณถี อื ศลี กนิ ผกั จ.ภเู กต็ โดยใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหเ์ ชงิ ประวตั ศิ าสตร์ จนเผยใหเ้ หน็ ถงึ มติ เิ ชงิ ประวตั ศิ าสตร์
ของภูเก็ตท่สี ง่ ผลต่อประเพณีถือศีลกนิ ผกั
ผลแสดงใหเ้ หน็ วา่ ในอดตี เมอื งภเู กต็ เปน็ เมอื งขนาดเลก็ ผคู้ นมเี ชอ้ื สายจนี คนรจู้ กั กนั ทำ� อาชพี
การเกษตร ประมง เหมอื งแร่ การสบื ทอดประเพณกี นิ ผกั กเ็ ปน็ ไปไดด้ ว้ ยดผี า่ นการสอื่ สารบอกเลา่ ในครวั เรอื น
พธิ กี รรมมคี วามเรยี บงา่ ย แตเ่ มอ่ื ภเู กต็ เรม่ิ กา้ วไปสเู่ มอื งขนาดใหญ่ การสบื ทอดประเพณเี รมิ่ ยากขน้ึ เรม่ิ มี
หนว่ ยงานภายนอกก้าวเขา้ มา โดยเฉพาะการทอ่ งเท่ียวแห่งประเทศไทยหรือ ททท. ในชว่ ง พ.ศ. 2530
มกี ารประชาสมั พนั ธใ์ นวงกวา้ ง แมป้ ระเพณจี ะไมห่ ายไปแตป่ ระเพณเี รม่ิ เปลย่ี นไป เนน้ ความบนั เทงิ ดงึ ดดู
นักท่องเทยี่ ว ในยคุ หลังจึงปรบั เปลีย่ นให้หนั กลบั มาเป็นประเพณีแบบด้ังเดมิ สง่ิ ทีเ่ ห็นได้ชดั คอื การปรับ
เปลี่ยนคำ� เรียกประเพณใี หก้ ลบั มาเปน็ การถอื ศลี กนิ ผกั เชน่ เดิม
การวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ จึงไม่เพียงแต่ท�ำให้เห็นการเปลี่ยนแปลงด้านกายภาพเท่านั้น
แต่ยังทำ� ใหเ้ หน็ ถึงการเปล่ยี นแปลงเชงิ ความหมายและกจิ กรรมท่ดี ำ� เนนิ ต่อไปได้อีกด้วย ซงึ่ เอือ้ ต่อการนำ�
ไปสู่การพฒั นาหรอื การร้อื ฟ้ืนมรดกในอดตี ทเี่ กิดการเปลี่ยนแปลง
5. การวิเคราะห์เชิงเหตุผล
การวเิ คราะห์เชิงเหตผุ ลจะเปน็ การพจิ ารณาถงึ การหาสาเหตุ หรอื การหาปัจจัยทสี่ ่งผลกระทบต่อ
ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ในชมุ ชน การศกึ ษาในลกั ษณะนจ้ี ะตอ้ งพจิ ารณาเหตทุ ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ผลหรอื เหตกุ ารณท์ ี่
ประสบ และไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมเี พยี งเหตผุ ลเดยี วทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ผล เชน่ ปจั จยั ใดทท่ี ำ� ใหช้ มุ ชนมรี ายไดเ้ พมิ่ กต็ อ้ ง
คน้ หาสาเหตตุ า่ งๆ ซง่ึ อาจเกดิ ขนึ้ จากทง้ั การสง่ เสรมิ จากภายนอก เงนิ กองทนุ หมบู่ า้ น รวมถงึ ปจั จยั ภายใน
ท่ชี ุมชนพฒั นาการผลิตด้านเศรษฐกิจเพ่ิมข้ึน
ตัวอย่างการวเิ คราะห์เชิงเหตผุ ลเช่นงานของดวงพร คำ� นูณวัฒน์ และสุนดิ า ศิวปฐมชัย (2552)
ไดศ้ กึ ษาเกย่ี วกับแรงจงู ใจและปัจจยั ทีส่ ง่ ผลตอ่ การปฏิบตั ิงานของสือ่ มวลชนท้องถน่ิ
ผลการศกึ ษาในดา้ นปจั จยั เผยใหเ้ หน็ วา่ สอ่ื มวลชนทอ้ งถนิ่ ใหค้ วามคดิ เหน็ ถงึ ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การ
ท�ำงานของส่ือมวลชนท้องถิ่นในระดับมากประกอบไปด้วยความถูกต้อง การให้ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อ
คนในชุมชน สิทธิส่วนบุคคล และความต้องการของคนในชุมชน ส่วนค�ำสั่งของหัวหน้างานและนโยบาย
ของเจ้าของสือ่ เป็นลำ� ดับรอง และปัจจัยทมี่ คี วามส�ำคัญปานกลางถึงน้อยคอื รายได้ การเปน็ ทยี่ อมรบั ใน