Page 23 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 23
การศกึ ษาและวเิ คราะห์ชุมชนเพ่ือการวิจัยการสอื่ สารชุมชน 3-13
ท�ำให้เกิดความเข้าใจและรับรู้เรื่องราวทางศาสนาและที่ส�ำคัญคือการโน้มน้าวจิตใจคนให้เข้ามาในศาสนา
แต่เม่ือสถาบันการศึกษาเกิดขึ้น งานปูนปั้นจึงกลายเป็นเพียงเครื่องประดับในวัด (3) หน้าที่ท่ีคล่ีคลาย
หรอื การแตกตวั เพม่ิ ขนึ้ จากหนา้ ทอ่ี ดตี โดยมขี องเดมิ อยบู่ า้ ง เชน่ หนา้ ทกี่ ารสรา้ งอาชพี ใหมค่ อื การตำ� ปนู
ไมต่ อ้ งใชแ้ รงงานมากไมไ่ ดห้ วงั เปน็ ชา่ งปน้ั หนา้ ทกี่ ารเปน็ เครอื่ งประดบั ตกแตง่ ในสถานทตี่ า่ งๆ (4) หนา้ ท่ี
เพม่ิ ใหม่ คอื การเพมิ่ เตมิ จากในอดตี ทไ่ี มเ่ คยมมี ากอ่ น ไดแ้ ก่ การทำ� หนา้ ทกี่ ารทอ่ งเทย่ี ว ของทรี่ ะลกึ และ
หลกั สตู รในสถาบนั การศกึ ษา ทงั้ น้ี การปรบั ตวั ก็เนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงของบรบิ ทของสงั คม
8. การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การเมือง
ในขณะทกี่ ารวเิ คราะหเ์ ชงิ โครงสรา้ งหนา้ ทจี่ ะใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การศกึ ษาระบบโครงสรา้ งหนา้ ทใ่ี น
ชุมชน แต่ส�ำหรับการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การเมือง (political economy) ท่ีมีรากฐานจากส�ำนัก
มาร์กซสิ ม์ (Marxism) ซ่ึงสนใจความขดั แย้งในสังคม การเปน็ เจ้าของ ชนชนั้ การศึกษาวิเคราะห์ชุมชน
จึงก้าวไปสู่การพิจารณาว่า ปัญหาต่างๆ ในชุมชน โดยเฉพาะความยากจนเป็นปัญหาจากภายนอกและ
เกดิ จากความเหลื่อมล�้ำ การกดขีข่ ่มเหงของคนมีต่อคนจน หรอื การกดขีจ่ ากรัฐสปู่ ระชาชน หรอื การกดข่ี
จากโลกทุนนยิ มหรือโลกทห่ี นึ่งต่อโลกท่ีสาม
การวิเคราะห์ชุมชนด้วยแนวทางเศรษฐศาสตร์การเมืองจึงไม่ได้มองปรากฏการณ์ในชุมชนอย่าง
เดยี ว แตจ่ ะวเิ คราะหถ์ งึ โครงสรา้ ง ความสมั พนั ธข์ องการกระทำ� การผลติ ในชมุ ชนโดยเฉพาะดา้ นเศรษฐกจิ
การผลติ การแพร่กระจายการบริโภคในชมุ ชนซง่ึ เกิดขึน้ จากอำ� นาจ การกดข่ี จากชนช้นั ตา่ งๆ ในชมุ ชน
และแม้กระทั่งภายนอกชุมชนที่เอารัดเอาเปรียบท้องถิ่น โดยมักจะใช้แนวทางวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์
ควบคู่กนั เพื่อแสดงใหเ้ หน็ วา่ ชุมชนมกี ารเปลี่ยนแปลงในด้านโครงสร้างการเมอื งเศรษฐกจิ ท่ีส่งผลตอ่ การ
กดข่ีอยา่ งไร
ในชว่ งหลงั การวเิ คราะหด์ ว้ ยแนวทางเศรษฐศาสตรก์ ารเมอื งยงั เรมิ่ ขยบั ไปสกู่ ารพจิ ารณาอดุ มการณ์
ทผ่ี ลิตข้นึ จากรัฐ หรือชนชั้นปกครอง หรือผเู้ ป็นเจ้าของ เพอ่ื ท่ีจะท�ำหนา้ ทคี่ รอบงำ� ให้กับชุมชนไดเ้ ชอ่ื ตาม
ท่ีรัฐได้ก�ำหนดไว้ด้วย อาทิ การท่ีภาครัฐได้สร้างความหมายว่า ชาวเขาเป็นผู้ตัดป่า แต่ในอีกด้านหนึ่ง
แนวทางเศรษฐศาสตร์การเมืองก็เร่ิมศึกษาการต่อสู้เพ่ือแสวงหาอุดมการณ์ใหม่ท่ีชุมชนสามารถท�ำหน้าท่ี
ตอ่ กรกบั รฐั โดยเนน้ ความเทา่ เทยี มกนั หรอื เสรภี าพของคนในชมุ ชน เชน่ การตอ่ สขู้ องชาวเขาเพอื่ อนรุ กั ษป์ า่
แนวทางนี้จะเริ่มพัฒนาไปสแู่ นวทางถดั ไป คือ การวเิ คราะห์ชมุ ชนด้วยแนวทางวฒั นธรรม
9. การวิเคราะห์เชิงวัฒนธรรม ตามส�ำนักวัฒนธรรมชุมชนและวัฒนธรรมศึกษา
การวเิ คราะหเ์ ชงิ วฒั นธรรม ในดา้ นหนงึ่ ตอ่ เนอ่ื งมาจากปรชั ญาวธิ คี ดิ ทเี่ นน้ เสรภี าพของมนษุ ย์ และ
ความแตกต่างของบุคคลและชุมชน และในอีกด้านหนึ่ง แนวคิดดังกล่าวก็สืบต่อจากส�ำนักเศรษฐศาสตร์
การเมืองทีส่ นใจการวเิ คราะหอ์ ดุ มการณ์ท่ีครอบงำ� แตข่ ยับไปสู่การตอ่ สู้ของบคุ คลและชมุ ชน แต่ไม่วา่ จะ
แตกต่างกันอย่างไร จุดมุ่งหมายคือ การให้ความสนใจพลังของมนุษย์และชุมชนในการเป็นผู้ด�ำเนินการ
หรือการแกไ้ ขเปลีย่ นแปลง