Page 21 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 21
การศกึ ษาและวิเคราะห์ชุมชนเพ่อื การวจิ ยั การสือ่ สารชุมชน 3-11
ชุมชน ความสะดวกสบายในการใช้ชีวิต และความปลอดภัย อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการศึกษาเพ่ิมถึงผู้
เชยี่ วชาญก็พบว่า ยังคงมีปจั จยั ดา้ นการเมืองท้องถิน่ และธรุ กิจส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
การทไ่ี ดท้ ราบปจั จยั ดงั กลา่ วกจ็ ะนำ� ไปพฒั นาสอื่ มวลชนทอ้ งถนิ่ เพม่ิ ขนึ้ โดยเฉพาะการคงลกั ษณะ
ทด่ี ขี องสอ่ื มวลชนทอ้ งถนิ่ ทใี่ หค้ วามสำ� คญั ตอ่ ชมุ ชน และการทค่ี นทำ� งานสอ่ื กต็ อ้ งใหค้ วามใสใ่ จตอ่ การรกั ษา
ความเปน็ กลางในการท�ำงานไม่โอนเอยี งตอ่ ดา้ นการเมอื งทอ้ งถนิ่
6. การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ
ในขณะทกี่ ารวิเคราะห์หา้ ด้านท่ผี ่านมามักจะเน้นการวิเคราะห์จากชุมชนเดยี วเป็นหลัก เพยี งแต่
มมี มุ มองทแี่ ตกตา่ งกนั สำ� หรบั การวเิ คราะหใ์ นหวั ขอ้ นจี้ ะเนน้ การเปรยี บเทยี บเพอื่ จะแสดงใหเ้ หน็ วา่ แตล่ ะ
ชุมชนน้ันมีความเหมือนหรือมีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร เป้าหมายของการเปรียบเทียบยังน�ำไปสู่
การพฒั นา เชน่ หากเหน็ วา่ ชมุ ชนอกี ชมุ ชนหนงึ่ มจี ดุ เดน่ หรอื มแี นวทางการทำ� งานทดี่ กี วา่ กส็ ามารถนำ� งาน
ดงั กลา่ วเปน็ แมแ่ บบการทำ� งานในลกั ษณะเดยี วกนั แตก่ อ็ าจตอ้ งคำ� นงึ ถงึ การปรบั เปลย่ี นใหเ้ หมาะกบั พน้ื ที่
แต่ละแห่งดว้ ย
นอกจากการเปรียบเทียบในเชิงพื้นท่ีหรือชุมชนแล้ว การเปรียบเทียบยังสามารถก้าวไปสู่การ
เปรยี บของระยะเวลาไดด้ ว้ ย ซง่ึ จะเปน็ การผนวกการวเิ คราะหเ์ ชงิ ประวตั ศิ าสตรใ์ นขา้ งตน้ เชน่ การเปรยี บเทยี บ
อดตี ถงึ ปจั จุบันเพ่ือให้เหน็ การเปล่ียนแปลง ความต่อเนอื่ งของการดำ� เนินงานหรอื กิจกรรมในชุมชน
ตวั อยา่ งการศกึ ษาในเชงิ การเปรยี บเทยี บการดำ� เนนิ กจิ กรรม ไดแ้ ก่ งานของบษุ ยากร ตรี ะพฤต-ิ
กลุ ชยั และกาญจนา แกว้ เทพ (2555) ศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงของความหมายของเหลา้ ในงานศพ ทบี่ า้ นดง
จ.ล�ำปาง ผลการศกึ ษาไดแ้ สดงให้เห็นวา่ ความหมายของเหลา้ ในพธิ งี านศพไดเ้ ปล่ยี นแปลงไปอยา่ งนอ้ ย
สามยุคดว้ ยกัน
จากยุคแรก 2540-2544 เหล้าจะเป็นส่ิงส�ำคัญในงานศพ เจ้าภาพต้องมีการเลี้ยงเพื่อท�ำหน้าที่
ขอบคณุ บรรดาแขกท่มี ารว่ มงานและการเช่อื มโยงผ้คู น สิง่ แสดงภาพลักษณ์ของการมีหน้ามีตา แตใ่ นช่วง
ท่ีสอง ในชว่ ง พ.ศ. 2544-2546 เป็นชว่ งทม่ี ีโครงการงานศพงดเหล้า หรือเปน็ ช่วงทเ่ี รม่ิ กระตุ้นให้ชุมชน
เลกิ เลยี้ งเหล้าในงานศพ ทำ� ให้ชาวบ้านไดย้ อ้ นความหมายของงานศพในยคุ ก่อนหนา้ นัน้ ว่า เป็นกจิ กรรม
ทท่ี ำ� เพอ่ื แสดงความสญู เสยี และความเออ้ื อาทรของคนในชมุ ชนตอ่ ครอบครวั ผตู้ าย ดงั นนั้ จงึ สง่ ผลใหค้ วาม
หมายเหล้าเปลย่ี นไป โดยมองวา่ เหลา้ คอื ภาระของเจ้าภาพ และในชว่ ง พ.ศ. 2547-2553 เปน็ ช่วงเวลา
ที่ชุมชนไดร้ บั การยอมรบั เป็นพน้ื ทด่ี ูงาน ในชว่ งนี้ไมม่ ีการเลีย้ งเหล้าอกี เลย และสรา้ งกจิ กรรมใหมท่ ี่แสดง
ให้เห็นวา่ ยงั มกี ิจกรรมท่ีทดแทนเหลา้ แตย่ งั เชื่อมโยงผคู้ นได้ นนั่ ก็คือ การท�ำโลงศพและปราสาทศพ โดย
เหล้าจะมีบทบาทเพยี งเคร่อื งประกอบพธิ ีกรรมเทา่ นั้น
การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บขา้ งตน้ ทำ� ใหเ้ หน็ ความแตกตา่ งของพน้ื ท่ี เวลา ความหมาย ซง่ึ จะทำ� ให้
เหน็ การเปลยี่ นแปลง ความตอ่ เนอ่ื ง และทส่ี ำ� คญั คอื ปจั จยั กระทบทที่ ำ� ใหม้ คี วามแตกตา่ งกนั ในกรณขี า้ งตน้
ก็คือ การตระหนกั ถึงปญั หาการเลี้ยงเหลา้ ในงานศพจงึ กอ่ ใหเ้ กดิ โครงการงานศพลดเหล้า