Page 24 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 24
3-14 การศึกษาชุมชนเพ่ือการวจิ ยั และพฒั นา
หากเป็นกรณีแรก มักจะสนใจถึงมิติด้านวัฒนธรรมชุมชน จึงอาจเรียกว่าเป็น การวิเคราะห์
เชิงวัฒนธรรมชุมชน ถือก�ำเนิดขึ้นในไทยหลงั ชว่ งตลุ าคม 2516 และเฟือ่ งฟใู นช่วงทศวรรษท่ี 2520 ซ่ึง
ใหค้ วามสนใจตอ่ ศกั ยภาพของชมุ ชนในการเปน็ ผพู้ ฒั นา ดงั ทกี่ ลา่ วไปเบอื้ งตน้ ของการพฒั นาตามแนวทาง
บวก (positive approach) แนวทางนเ้ี ชื่อวา่ ชมุ ชนมวี ฒั นธรรม ศักยภาพ การพัฒนาในทิศทางทีม่ ีอยู่
แตอ่ าจถูกดเกบ็ จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งรือ้ ฟื้นข้ึนมาใหม่ ดว้ ยการเหน็ คุณค่าชาวบา้ น และเนน้ ให้ชาวบ้านกา้ วเข้า
มามสี ว่ นรว่ มในการด�ำเนินการ (กาญจนา แกว้ เทพ, 2538)
แนวคิดขา้ งตน้ สอดคลอ้ งกับงานของโกมาตร จงึ เสถียรทรพั ย์ และคณะ (2555) วา่ การท�ำงาน
ดา้ นการพฒั นาชมุ ชนทผี่ า่ นมามกั จะเนน้ แตป่ ญั หา ไมเ่ หน็ ศกั ยภาพชมุ ชน เนน้ การศกึ ษาตวั เลขสถติ ิ ขอ้ มลู
ประชากร การมองอยา่ งแยกสว่ นเหน็ มิตคิ วามสัมพันธ์ของสงิ่ ตา่ งๆ แบบองค์รวม
สำ� หรบั ดา้ นทสี่ อง การศกึ ษาวฒั นธรรมชมุ ชนตามแนวทางของสำ� นกั วฒั นธรรมศกึ ษา (cultural
studies) ไดร้ บั อทิ ธิพลจากตา่ งประเทศ
ในสว่ นแรก งานกลมุ่ นจี้ ะใหค้ วามสนใจตอ่ การผลติ ซำ�้ มติ ทิ างวฒั นธรรม ความเชอื่ (reproduction
of culture) ซึง่ มาจากรุน่ หนงึ่ สู่อีกรุ่นหนงึ่ และหาปจั จัยที่ส่งผลต่อการผลติ ซ้�ำ เช่น การผลิตซำ�้ และสง่ ต่อ
ศิลปะพื้นบ้านจากอดีตสปู่ จั จบุ นั ในอดีตอาจผลิตผ่านครแู ละลูกศษิ ยผ์ ่านมขุ ปาฐะ แต่ในปัจจุบันก็เขยิบไป
สู่การผลิตซ�้ำในสถาบันการศึกษา และสถาบันสื่อมวลชน ผ่านหลักสูตรและสื่อใหม่ เป็นต้น และในเวลา
เดียวกัน ก็สนใจศักยภาพของชุมชนบุคคลในการต่อสู้ต่อรองความหมายท่ีถูกก�ำหนดขึ้นจากโครงสร้าง
สงั คม ความหมายในทน่ี เ้ี ปน็ เรอื่ งอำ� นาจทถี่ กู กำ� หนดและผคู้ นหรอื ชมุ ชนกส็ ามารถตอ่ สตู้ อ่ รองความหมาย
ได้ แนวคิดน้ีเชอื่ วา่ บคุ คลและชุมชนจะตอ่ สคู้ วามหมายที่คนอ่นื ได้กำ� หนด ดังเชน่ กลุ่มสตรกี ห็ ันมาต่อสู้
ความหมายที่สงั คมกำ� หนดว่าออ่ นแอ พง่ึ พิง และพฒั นาความหมายในแงบ่ วก
ตัวอย่างการศกึ ษาชมุ ชนในสำ� นักวฒั นธรรมศกึ ษาดังงานของสุชาดา พงศก์ ติ ตวิ ิบูลย์ (2558) ได้
ศกึ ษากรณีของการแสดงเอ็งกอการแสดงพ้ืนบ้านของชาวไทยเชื้อสายจนี ที่ อ.พนัสนคิ ม จ.ชลบุรี ไดเ้ ผย
ใหเ้ หน็ วา่ ภายใตบ้ รบิ ทสงั คมไทยในประวตั ศิ าสตรท์ ก่ี ดทบั ชาวจนี แตก่ ารเลน่ เอง็ กอกลบั เปน็ ความพยายาม
ตอ่ สอู้ ตั ลกั ษณข์ องชาวจนี ในพน้ื ทเี่ พอ่ื แสดงออกความเปน็ ตวั ตนของชาวไทยเชอ้ื สายจนี และพยายามสง่ เสรมิ
และสืบทอดการแสดงเอ็งกอผ่านมิติเชิงวัฒนธรรม การต่อรองเชิงอ�ำนาจเกิดขึ้นเม่ือชาวไทยเช้ือสายจีน
ก็ปรับรูปแบบของเอ็งกอให้เข้ากับงานของรัฐ เช่น การน�ำเอ็งกอไปแสดงในงานท่องเท่ียว นอกจากน้ัน
ยงั ใชว้ ธิ กี ารสบื ทอดผา่ นศาลเจา้ และสถาบนั การศกึ ษา ซง่ึ ทำ� ใหค้ งทงั้ รปู แบบดงั้ เดมิ และการทำ� ใหเ้ กดิ ผชู้ ม
รุ่นใหม่ที่เข้าใจศิลปะของเอ็งกอ แม้ในปัจจุบัน การต่อสู้ต่อรองของเอ็งกอยังคงด�ำเนินอยู่แต่ปรับไปสู่การ
ต่อสูก้ ับระบบโลกาภวิ ตั น์ทกี่ ลนื กนิ วฒั นธรรมทัง้ หมดเขา้ เปน็ วฒั นธรรมของโลกเดยี วกนั
เช่นเดียวกันกับงานของนลินี ตันธุวนิตย์ (2558) ซ่ึงศึกษาการต่อสู้ของชุมชนภูมิซรอล พื้นท่ีที่
ถูกนิยามจากรัฐว่าเป็นพรมแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา พ้นื ทอ่ี นั ตราย พื้นที่สงคราม และในช่วงทศวรรษ
ที่ 2550 กเ็ ปน็ พนื้ ทข่ี องการประทว้ งมรดกโลกเขาพระวหิ าร และเกดิ ปะทะกนั ของกลมุ่ คนรกั ชาติ จนทำ� ให้
ถกู ประณามวา่ เปน็ คนไมร่ กั ชาติ ดา้ นหนงึ่ กเ็ พราะมเี ชอื้ สายเขมร และรฐั กอ็ อกกฎหมาย จดั ระเบยี บชมุ ชน
แห่งนี้อย่างเข้มงวด แต่จากการศึกษาของนลินี ด้วยการศึกษาเรื่องเล่าค�ำสัมภาษณ์ของคนในชุมชนกลับ
มองต่างกันไป ชาวบ้านกลับมองว่า บ้านเมืองตนเป็นชุมชนท่ีสงบสวยงาม แต่ก็ต้องประสบกับวิกฤติ