Page 22 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 22
3-12 การศึกษาชุมชนเพือ่ การวิจยั และพฒั นา
7. การวิเคราะห์เชิงโครงสร้างหน้าที่
การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งหนา้ ท่ี หมายถงึ การวเิ คราะหถ์ งึ โครงสรา้ ง ตลอดจนกฎระเบยี บทปี่ ระกอบ
ในชุมชน โดยจะพิจารณาองค์ประกอบย่อยๆ ท่ีก่อให้เกิดองค์ประกอบใหญ่ การปฏิสัมพันธ์ รวมถึงการ
พจิ ารณาหน้าทท่ี เี่ กิดขึน้
การวเิ คราะห์โครงสรา้ งจะศึกษานบั ตั้งแตส่ ถาบนั ตา่ งๆ ในชมุ ชน หรอื โครงสร้างย่อยๆ ในชมุ ชน
ไดแ้ ก่ โครงสรา้ งประชากร ครอบครวั การปกครอง การส่ือสาร และในชว่ งหลังการศกึ ษาโครงสร้างกจ็ ะ
เขยบิ ไปศกึ ษาแมก้ ระทง่ั การกระทำ� ตา่ งๆ และความคดิ ทปี่ รากฏขนึ้ ในชมุ ชน เชน่ ความสมั พนั ธข์ องคนใน
ชมุ ชน การเป็นหนเ้ี ปน็ สนิ ความจนความยากไร้ ปญั หายาเสพตดิ หรือแมแ้ ตก่ ารทำ� การเกษตรพอเพียง
ซง่ึ อาจเรยี กวา่ เปน็ การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งสว่ นลกึ ทอ่ี าจมองไมเ่ หน็ ดว้ ยตาแตต่ อ้ งวเิ คราะหจ์ ะเหน็ วา่ ภายใน
โครงสรา้ งดงั กล่าวก็มรี ะบบระเบียบทีช่ ัดเจน (อานันท์ กาญจนพนั ธ์,ุ 2544)
การวเิ คราะหด์ ว้ ยมติ เิ ชงิ โครงสรา้ งหนา้ ทจ่ี ะเหน็ วา่ สถาบนั การสอื่ สาร และการกระทำ� จะมลี กั ษณะ
เฉพาะตวั มโี ครงสรา้ ง รวมถงึ การปฏสิ มั พนั ธห์ รอื ความสมั พนั ธ์ และหนา้ ทท่ี เี่ ดน่ ชดั เชน่ โครงสรา้ งสถาบนั
วดั ประกอบดว้ ยพน้ื ทวี่ ดั พระ สมาชกิ ในวดั มกี ารปฏสิ มั พนั ธก์ นั กบั คนในชมุ ชน และเกดิ กจิ กรรมพธิ กี รรม
ตา่ งๆ ทท่ี ำ� หนา้ ทเ่ี พอื่ จรรโลงจติ ใจแกค่ นในสงั คม หรอื กรณขี องโครงสรา้ งการสอื่ สารชมุ ชน จะประกอบไป
ดว้ ยประเภทสอื่ ตา่ งๆ ในชมุ ชนไดแ้ ก่ สอื่ วทิ ยกุ ระจายเสยี งและภาพในชมุ ชน สอื่ บคุ คล สอ่ื พน้ื บา้ น รวมถงึ
การมีผ้คู น องคก์ รสอ่ื ชมุ ชน และมีหนา้ ทสี่ ือ่ สารใหก้ บั คนในและคนนอกชมุ ชน
หากพิจารณาให้ลึกลงไปการวิเคราะห์เชิงโครงสร้างแยกกับหน้าที่ ในด้านแรก การวิเคราะห์
โครงสรา้ งจะเปน็ การพจิ ารณาถงึ โครงสรา้ งหลกั ทไี่ มค่ อ่ ยเปลยี่ นแปลง เชน่ บา้ นกจ็ ะตอ้ งประกอบดว้ ยเสาเขม็
ผนงั กำ� แพง หลงั คา แตส่ ำ� หรบั หนา้ ทสี่ ามารถปรบั ตวั เปลย่ี นไปได้ เชน่ วดั ในอดตี อาจทำ� หนา้ ทเ่ี พอ่ื จรรโลง
จติ ใจ แตว่ ัดในปัจจบุ ันอาจขยับไปสู่การท�ำหนา้ ท่เี พื่อธรุ กจิ ชุมชน หรือเป็นพนื้ ท่รี วมตวั กันของผูเ้ ฒ่าผ้แู ก่
เป็นต้น ดังน้ัน การวิเคราะห์เชิงหน้าที่จึงมักจะพิจารณาว่า หน้าที่ท่ีมีอยู่นั้นคงอยู่เดิม ต่อเน่ือง เรียกว่า
หน้าท่ีสืบเน่ือง ในทางกลบั กนั หนา้ ทบี่ างอยา่ งกลบั หดหาย ไมท่ ำ� หนา้ ที่ เรยี กวา่ หน้าที่ที่หายไป เชน่ โนรา
ทเ่ี คยท�ำบทบาทการรักษาพยาบาลเรมิ่ หดตัวลง อาจมหี น้าท่ีคล่ีคลาย หรือหนา้ ท่ีทีแ่ ตกตวั จากหนา้ ท่เี ดิม
หรือยืนบนของเดิม และอาจมีหน้าที่ท่ีเพิ่มใหม่ ตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่งเดมิ ไมม่ ีหนา้ ทดี่ งั กลา่ ว
เชน่ การใชร้ ำ� โนราในการแสดงอเี วน้ ทต์ า่ งๆ หรอื การแกะหนงั ตะลงุ เพอ่ื เปน็ สนิ คา้ ของทรี่ ะลกึ
ตวั อยา่ งการศกึ ษาบทบาทหนา้ ทที่ เ่ี ปลยี่ นแปลงไดแ้ กง่ านของขนษิ ฐา นลิ ผง้ึ (2551) ศกึ ษาหนา้ ที่
ของงานปูนปั้น จ.เพชรบุรี ผลการศึกษาตอกย้�ำให้เห็นว่า ปูนปั้นมีบทบาทหน้าที่ที่เปล่ียนแปลงได้ โดย
จำ� แนกเปน็ (1) หน้าทีท่ ส่ี ืบเน่ือง หรือหนา้ ท่ดี ำ� เนนิ มาจากอดตี นบั ตง้ั แต่ระดับปัจเจกบุคคล คือ การสร้าง
สมาธิ พฒั นาตนเอง ฝกึ ความอดทน ฝกึ ทกั ษะการทำ� งาน อบรมคณุ ธรรม พฒั นาทางอารมณ์ พฒั นาความ
คิดสร้างสรรค์ ระดับชุมชน ได้แก่ การสืบสานอนุรักษ์ศิลปะ การสืบทอดภูมิปัญญาช่างปูนปั้น สะท้อน
อตั ลกั ษณ์ ทอ้ งถนิ่ การสรา้ งอาชพี ใหค้ นทอ้ งถนิ่ และหนา้ ทร่ี ะดบั สงั คม คอื การบนั ทกึ คำ� สอนจากประวตั ศิ าสตร์
การวพิ ากษ์วจิ ารณส์ งั คม สืบทอดวรรณกรรม แหลง่ ข้อมลู ทางโบราณคดี การโยงสมาชกิ ในสงั คมเข้ากับ
คา่ นยิ มในสงั คมผา่ นปนู ปน้ั อยา่ งไรกต็ าม ยงั มบี ทบาทหนา้ ทด่ี า้ นอนื่ ๆ ทพ่ี บ (2) หนา้ ทท่ี หี่ ายไป นน่ั กค็ อื
ในอดตี ปูนปัน้ จะเคยี งคู่กบั สถาบันศาสนา ในอดตี ที่ผูค้ นอ่านไม่ออกเขียนไมไ่ ดก้ ารดลู วดลายปนู ป้ันก็ชว่ ย