Page 27 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 27
การศกึ ษาและวิเคราะหช์ ุมชนเพือ่ การวจิ ัยการสอ่ื สารชมุ ชน 3-17
กิจกรรม 3.1.2
การวเิ คราะหช์ มุ ชนดว้ ยการมองชมุ ชนวา่ ยงั มที นุ มคี วามสามารถ มศี กั ยภาพ ถอื เปน็ การวเิ คราะห์
ชมุ ชนในแนวทางใด
แนวตอบกิจกรรม 3.1.2
การวเิ คราะห์ชมุ ชนมุมมองบวก หรือการวเิ คราะหช์ ุมชนเชิงวฒั นธรรม
เร่ืองท่ี 3.1.3
ประเด็นการวิเคราะห์ชุมชน
การวิเคราะห์ชุมชนสามารถท�ำได้ในหลากหลายด้าน ในท่ีนี้จะประยุกต์จากงานของกาญจนา
แกว้ เทพ (2538) ภาณี วงษเ์ อก และคณะ (2548) สมสขุ หนิ วมิ าน (2553) ซง่ึ จำ� แนกการวเิ คราะหช์ มุ ชน
7 ดา้ น คือ ประวัตศิ าสตร์ชุมชน ลกั ษณะกายภาพชมุ ชน โครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรมในชมุ ชน ผ้คู น
และผู้น�ำในชมุ ชน การสือ่ สารและส่อื ในชุมชน และทุนหรือศกั ยภาพในชุมชน รายละเอยี ดดังนี้
1. ประวัติศาสตร์ชุมชน
การศึกษาประวัติศาสตร์ชมุ ชนจะเนน้ การศกึ ษาความเปน็ มา การกอ่ ตัวของชุมชน ผูค้ น เชอื้ ชาติ
ในชมุ ชน และความสมั พนั ธข์ องผคู้ นในชมุ ชน ความเชอ่ื ตา่ งๆ ในชมุ ชน เรอ่ื งเลา่ ตำ� นาน พธิ กี รรม ตลอด
จนการพจิ าณาถงึ การเขา้ มาของสง่ิ ของในชมุ ชน เชน่ ไฟฟา้ นำ้� ประปา โทรทศั น์ ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ หน็ วา่ ชมุ ชน
ได้รับอทิ ธิพลจากภายนอกชุมชนเมื่อไร
นอกจากนน้ั หากใชแ้ นวทางประวตั ศิ าสตรก์ จ็ ะตอ้ งพจิ ารณาวา่ ชมุ ชนนนั้ มคี วามตอ่ เนอื่ งและการ
เปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร อนาคตจะมีลักษณะใด และปัจจัยใดท่ีส่งผลต่อความต่อเนื่องและการ
เปลย่ี นแปลงนน้ั
การศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนจะท�ำให้เห็นท่ีมาของชุมชน โครงสร้าง ความสัมพันธ์ของคนใน
ชุมชน ความเช่อื และท่สี �ำคญั คอื การเห็นความต่อเนือ่ งและการเปล่ียนแปลงต่างๆ ในชมุ ชน หากชุมชน
มคี วามเป็นมายาวนานกย็ ่อมมีประวัติศาสตรย์ าวนาน มคี วามแนบแน่นกวา่ การเพ่งิ กอ่ ตัวขน้ึ มา