Page 18 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 18

3-8 การศึกษาชมุ ชนเพ่อื การวิจยั และพัฒนา
คนในและคนนอกหรือนักพัฒนาท�ำงานร่วมกัน อันจะท�ำให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้การท�ำงาน มีการ
ทำ� งานอยา่ งเปน็ ระบบมากกวา่ ทชี่ มุ ชนดำ� เนนิ การเอง การกอ่ เกดิ พลงั ทม่ี ากขน้ึ และทสี่ ำ� คญั คอื การทำ� งาน
แบบรว่ มกนั ชว่ ยท�ำให้เห็นปญั หาจดุ เดน่ จุดดอ้ ยท่ีรอบดา้ นจากสายตาทแ่ี ตกต่างกัน

       กาญจนา แกว้ เทพ (2538, น. 191) ยงั เสรมิ ดว้ ยวา่ การวเิ คราะหช์ มุ ชนจากคนในชมุ ชนยงั สามารถ
ขยายปริมาณเพ่ิมขึ้นได้จากกลุ่มเล็กเป็นกลุ่มใหญ่หรือระดับหมู่บ้าน ซ่ึงจะท�ำให้ได้เพ่ือนและเกิดพลังใน
การเปล่ียนแปลงทีข่ ยายอาณาเขตการเปล่ียนแปลงได้มากขึ้น

       ถงึ แมว้ า่ ผลการวเิ คราะหช์ มุ ชนจากการทใี่ หค้ นในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มอาจไมแ่ ตกตา่ งกนั จากทนี่ กั พฒั นา
ภายนอกดำ� เนินการ แต่จดุ ตา่ งกค็ ือ คนในชมุ ชนจะตระหนักว่า ปัญหา แนวทางการแกไ้ ขนัน้ มาจากการ
มสี ว่ นรว่ มของคนในชุมชน และมีส�ำนกึ ถงึ ปัญหาและความเปน็ เจา้ ของนั้นรว่ มกัน

2. 	 การวิเคราะห์ด้วยมุมมองเชิงบวก-ลบ

       การวเิ คราะหช์ มุ ชนยงั สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากมมุ มองทงั้ ในแงบ่ วกและลบ (positive – negative
approach) โดยทั่วไปการวิเคราะห์ชุมชนด้วยสายตาจากคนภายนอกและภายใต้กระบวนทัศน์ความทัน
สมยั (modernistic paradigm) จะมองวา่ ชมุ ชนมคี วามออ่ นแอ มปี ญั หา ไมพ่ ฒั นา การมองปญั หาชมุ ชน
อยา่ งแยกสว่ น และคนภายนอก รฐั ตอ้ งกา้ วไปชว่ ยเหลอื และพฒั นา ยงิ่ มองชมุ ชนกจ็ ะพบกบั ปญั หาแตไ่ ม่
พบกบั ทางแก้ และนีก่ ค็ อื การมองชุมชนดว้ ยมิติเชงิ ลบ (negative approach)

       หากย้อนกลับไปถึงท่ีมาแนวคิดเบื้องหลังก็จะพบว่า ในเชิงทฤษฎีการมองชุมชนด้วยแนวคิดเชิง
บวกส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากงานของฟอร์ดินานท์ ทอนนีย์ (Ferdinand Tonnies) ให้ความสนใจชุมชน
ชนบท และมองวา่ เป็นชมุ ชนทม่ี ีความผูกพนั ในทางกลับกัน อมี ิล เดอร์ไคม์ (Emile Durkheim) กลบั
ให้ความสนใจชุมชนเมืองมากกว่า โดยมองว่ามีระบบระเบียบ มีความสมานฉันท์เชิงกลไก ต่างคนก็ต่าง
แบ่งงานกนั ทำ�  แตม่ องชมุ ชนชนบทในดา้ นลบ

       ส�ำหรับในกรณขี องสงั คมไทย การมองชุมชนในเชงิ ลบเกิดขึ้นในช่วงกระแสการพัฒนาประเทศให้
ทนั สมยั แตน่ บั ตงั้ แตช่ ว่ งทศวรรษที่ 2520 ภายหลงั เหตกุ ารณต์ ลุ าคม 2516 และ 2519 กอ่ ใหเ้ กดิ กระบวน-
ทศั นใ์ หมห่ รอื กระบวนทัศน์ทางเลือก (alternative paradigm) ที่ให้ความสำ� คัญต่อชมุ ชน ท�ำใหก้ ารมอง
ชุมชนได้เร่ิมปรับสู่มิติเชิงบวก เร่ิมให้ความส�ำคัญต่อชุมชน มองแบบองค์รวมหรือเห็นความสัมพันธ์ของ
สรรพสง่ิ และเรมิ่ พจิ ารณาพลงั ของชมุ ชน แมช้ มุ ชนจะมปี ญั หา แตใ่ นเวลาเดยี วกนั ปญั หากย็ อ่ มมที างแกไ้ ข
ด้วยภมู ิปัญญาทม่ี ีอยู่ในชุมชน เม่อื ยอ้ นไปในอดตี ก็จะพบว่า มีการแก้ไขปญั หาต่างๆ ฝงั อยู่ในภูมปิ ัญญา
ของคนในชมุ ชนเพยี งแตว่ า่ ทผ่ี า่ นมาอาจมองขา้ มไป แนวทางการวเิ คราะหใ์ นลกั ษณะนเี้ รยี กวา่ การวเิ คราะห์
ดว้ ยมติ ิเชิงบวก (positive approach)

       กาญจนา แก้วเทพ (2538, น. 36-37, 40-41) ขยายความการวเิ คราะหช์ มุ ชนด้วยแนวทางบวก
ไวว้ า่ วางอยบู่ นหลกั คดิ สองดา้ นคอื ดา้ นแรก หลกั ทางศาสนา (spiritual dimension) หรอื เชอ่ื วา่ มนษุ ย์
มศี กั ยภาพ การวางใจในความดงี ามของมนษุ ย์ ดา้ นทส่ี อง หลกั ความเปน็ จรงิ (realistic) ซง่ึ หมายความวา่
ทีผ่ า่ นมาชมุ ชนกต็ อ้ งประสบกับปญั หาอยแู่ ล้ว และมหี นทางการแก้ไขปญั หาดว้ ยตนเองอยู่ เมือ่ นำ� มารวม
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23