Page 55 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 55

การศกึ ษาและวเิ คราะหช์ ุมชนเพ่ือการวิจยั การสอื่ สารชุมชน 3-45
เสนอว่า เทคนิคการสร้างความสัมพันธ์ เริ่มต้นตั้งแต่การแนะน�ำตัวท้ังอาจเป็นทางการ เช่น ใช้หนังสือ
ราชการ รวมถงึ ไมเ่ ป็นทางการ เชน่ การปรากฏตัวในชมุ ชน โดยผูน้ ำ� ชุมชนมกั จะให้ผู้มาทำ� วิจยั มีโอกาส
แนะนำ� ตวั ในการประชุมของหมบู่ ้าน บางครงั้ ผู้วิจยั ก็อาจต้องไปแนะนำ� ตัวตามครัวเรอื นดว้ ย นอกจากนัน้
การแนะน�ำตัวก็อาจมาจากการกระทำ�  หรือการเข้ารว่ มกิจกรรมของชมุ ชนไดด้ ว้ ย

       3) 	ในระหว่างการเก็บข้อมูล ทวีศักดิ์ นพเกษร (2551) อธิบายว่า จ�ำเป็นต้องมีการวิเคราะห์
ขอ้ มูล หรอื ประมวลขอ้ มูลไปด้วย เพ่ือทจ่ี ะได้ทราบวา่ ข้อมูลทไ่ี ดเ้ พยี งพอหรือต้องมีการเก็บเพ่มิ เติม

       4) 	นอกเหนือจากการเก็บข้อมูลแล้ว ผู้วิจัยจากภายนอกอาจต้องก้าวเข้าไปมีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจประเด็นต่าง ๆ ในชุมชน ประสทิ ธ์ิ ลีระพันธุ์ และอดุ ม ศรีทิพย์ (2548) จึงต้ังข้อสังเกตว่า การ
ร่วมตัดสินใจเป็นสิ่งท่ีต้องพึงระวัง แต่บางครั้งก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ ต้องใช้ความยุติธรรมและเหตุผลในการ
ตดั สนิ ใจ หากทำ� ไดด้ ีกจ็ ะทำ� ใหน้ กั วิจยั ภายนอกไดร้ บั การยกย่อง

       5) 	ปัญหาหรอื ข้อควรระวงั ในการท�ำวจิ ัยในชุมชน เปน็ สงิ่ ทป่ี ระสทิ ธ์ิ ลรี ะพนั ธ์ และอดุ ม ศรที พิ ย์
(2548) ไดเ้ ตอื นใหน้ กั วจิ ยั ภายนอกจำ� เปน็ ตอ้ งมลี กั ษณะนสิ ยั เปน็ ผเู้ รยี นไมใ่ ชผ่ รู้ ู้ การระมดั ระวงั การพกพา
วฒั นธรรมของนกั วจิ ยั ภายนอกเขา้ ชมุ ชน เชน่ ของใชส้ ว่ นตวั บคุ ลกิ ความเปน็ เมอื ง ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หา
ในชมุ ชนทหี ลงั นอกจากนน้ั ยงั ตอ้ งระมดั ระวงั ถงึ อทิ ธพิ ลคนรอบขา้ งทมี่ ผี ลตอ่ งานวจิ ยั ทอ่ี ยศู่ ยั ทพี่ กั กอ็ าจ
สง่ ผลตอ่ ความไมเ่ ปน็ กลางในขอ้ มลู ตลอดจนการกนิ อยู่ ซง่ึ ควรทำ� ในลกั ษณะเดยี วกนั กบั ชมุ ชนเพอื่ การให้
เกียรติ และระมัดระวงั เร่ืองความขดั แย้งและช้สู าว

3. 	 ขั้นหลังการลงชุมชน

       ในข้ันตอนน้ีนอกจากจะหมายถึงช่วงที่ถอนตัวออกจากชุมชนแล้ว ยังอาจหมายรวมถึงขั้นตอน
ทพี่ กั ทมี ในสนามไดอ้ กี ดว้ ย เพราะการทำ� งานวจิ ยั ในสนามจะเปน็ งานหนกั การพกั นยี้ งั เปน็ จงั หวะทด่ี ที ย่ี งั
ทำ� ใหน้ ักวิจยั ไดท้ บทวน (retreat) ทงั้ ตัวเอง การทบทวนเหตกุ ารณ์ทไ่ี ด้รับมา และการทบทวนข้อมูล

       ในส่วนของการปดิ สนามการวิจัย หากเป็นในอดีตกค็ ือ การถอนตัวออกจากชมุ ชนอยา่ งเดียว แต่
หากเปน็ กรณขี องการวจิ ยั ทเี่ รมิ่ เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน กอ่ นการปดิ การวจิ ยั จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารคนื ขอ้ มลู
ให้กับชุมชนหรือพ้ืนท่ีวิจัย เป้าหมายก็คือ นอกจากจะให้ชุมชนได้รับทราบเรียนรู้ผลการด�ำเนินการแล้ว
ยังถอื ได้ว่า เป็นการช่วยตรวจสอบข้อมูล และการวิเคราะหใ์ นเบื้องตน้ ไดอ้ ีกด้วย ในทศั นะของนกั พัฒนา
มองวา่ การคนื ขอ้ มลู ใหแ้ กช่ มุ ชนจะเปน็ การชว่ ยทำ� ใหช้ มุ ชนไดน้ ำ� ขอ้ มลู ไปใชใ้ นการพฒั นาตอ่ ไปในอนาคต

       ทวีศกั ดิ์ นพเกษร (2551) ตง้ั ขอ้ สงั เกตทีน่ ่าสนใจวา่ คนทว่ั ไปมักจะให้ความสนใจต่อขนั้ ตอนแรก
คอ่ นขา้ งมาก แตใ่ นขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยหรอื การปดิ การวจิ ยั นนั้ กถ็ อื เปน็ ขนั้ ตอนทสี่ ำ� คญั ไมแ่ พก้ นั เพราะนอกจาก
จะทำ� ใหไ้ ดก้ ารตรวจสอบขอ้ มลู การคนื ขอ้ มลู แลว้ ยงั ถอื เปน็ ปรบั จติ ใจทง้ั สำ� หรบั คนในชมุ ชนและตวั ผวู้ จิ ยั เอง
ทีจ่ ะปรบั จิตใจก่อนทจ่ี ะก้าวกลับไปสสู่ งั คมเดมิ ของตน
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60