Page 51 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 51
การศึกษาและวเิ คราะห์ชุมชนเพอ่ื การวิจยั การสือ่ สารชุมชน 3-41
เรื่องที่ 3.3.1
กระบวนการวิเคราะห์ชุมชนเพ่ือการวิจัย
กระบวนการวเิ คราะหช์ มุ ชนเพอ่ื การวจิ ยั เปน็ ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งานการวเิ คราะหช์ มุ ชน ในอดตี ท่ี
ผา่ นมาขน้ั ตอนดงั กลา่ วเกดิ ขน้ึ จากภายนอกชมุ ชนเพราะเปน็ ผรู้ เิ รม่ิ การวจิ ยั แตส่ ำ� หรบั ในปจั จบุ นั เรม่ิ มกี าร
ขยบั ไปสู่การวิจัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีสว่ นรว่ มท่เี น้นแนวคดิ วัฒนธรรมชมุ ชน เปิดโอกาสใหช้ ุมชนเขา้ มามี
สว่ นรว่ มในการวจิ ยั และกา้ วไปสกู่ ารปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื การแกไ้ ขปญั หาชมุ ชน ทำ� ใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื ในทนี่ จ้ี ะ
จำ� แนกเปน็ สองกรณี กระบวนการวิจัยชมุ ชนจากภายนอกชุมชน และกระบวนการวิจยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบ
มสี ่วนรว่ ม
1. กระบวนการวิจัยชุมชนจากภายนอกชุมชน
หากยอ้ นกลบั ไปทกี่ ระบวนการวจิ ยั โดยทว่ั ไปจะเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการก�ำหนดปญั หา การออกแบบการวจิ ยั
การปฏิบัติ และการสรุปผลการวิจัย ซ่ึงมักจะท�ำโดยนักวิจัยภายนอกเป็นหลักในยุคแรก การด�ำเนินการ
วิจัยมักจะด�ำเนินการโดยคนภายนอกเพียงอย่างเดียว ตัดสินใจฝ่ายเดียว ชุมชนเป็นเพียงกลุ่มตัวอย่าง
เทา่ น้ัน แตใ่ นชว่ งหลงั ภายใต้กรอบแนวคดิ ดา้ นบวก (positive approach) ซึ่งมองวา่ ชมุ ชนกม็ ศี ักยภาพ
ในการดำ� เนนิ การ จงึ เรม่ิ ใหค้ นในชมุ ชนกา้ วมามสี ว่ นรว่ มในการวเิ คราะห์ (กาญจนา แกว้ เทพ, 2538, น. 186)
กระบวนการดำ� เนินงานจะแบง่ ไดอ้ อกเปน็ สข่ี ้นั ตอน ดังน้ี
ขั้นตอนแรก การส�ำรวจประเด็นต่าง ๆ ในชุมชน ซ่ึงในอดีตมักจะเป็นภาระหน้าที่ของนักวิจัย
ภายนอกชมุ ชน แตใ่ นปจั จบุ นั เรม่ิ กา้ วไปสนู่ กั พฒั นาหรอื คนนอกไดก้ ระตนุ้ ใหค้ นภายในชมุ ชนเปน็ ผสู้ ำ� รวจ
ประเด็น นอกจากประเดน็ ปญั หาแล้ว ยงั อาจตอ้ งพิจารณาถึงศักยภาพของชุมชนไปพร้อมกัน
ขน้ั ตอนทส่ี อง การก�ำหนดโจทย์หรือปัญหาการวิจัย ซ่ึงมาจากประเด็นปญั หาทคี่ ้นพบในขา้ งต้น
และพยายามหาหนทางการแก้ไขปัญหาด้วยการวิจัย หากใช้กระบวนการมีส่วนร่วมโจทย์ก็จะเน้นจากมุม
มองของชุมชน
ข้นั ตอนทสี่ าม คอื การด�ำเนินการ หมายถึง ขัน้ ตอนการออกแบบ การเก็บขอ้ มลู หากเนน้ การมี
ส่วนรว่ มในชุมชน ก็จะให้ความสำ� คญั ต่อ การจัดโครงสรา้ งผูเ้ ข้ามามีสว่ นร่วม การวางแผนการดำ� เนนิ การ
วจิ ัยไปพร้อมกนั
และขนั้ ตอนสดุ ทา้ ย คอื การสรุปการดำ� เนินการ เปน็ ขนั้ ตอนการประมวลผลและการเขยี นรายงาน
การวจิ ัย
ขนั้ ตอนทงั้ หมดน้ี ในยคุ หลงั จำ� เปน็ ตอ้ งใชแ้ นวทางการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนเปน็ สำ� คญั เพอื่ ให้
เกิดการเรยี นรู้การแก้ไขปัญหาชุมชนอย่างย่งั ยืน แต่อาจไมถ่ งึ กบั การท่ชี มุ ชนนำ� ข้อมูลทีไ่ ดไ้ ปสู่การปฏบิ ัติ
และการเปลี่ยนแปลง ดังกรณีรปู แบบถดั ไปทเี่ น้นการวิจัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ่วนร่วมในหัวขอ้ ถดั ไป