Page 49 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 49
การศึกษาและวเิ คราะห์ชุมชนเพอ่ื การวิจยั การส่อื สารชมุ ชน 3-39
เทคนิคการสร้างอนาคตร่วมกันจึงเป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการท่ีเน้นการน�ำความรู้ในอดีตของ
ตวั แทนทรี่ ว่ มประชมุ มาวเิ คราะหส์ งั เคราะหจ์ นกลายเปน็ แนวทางรว่ มในการแกไ้ ขปญั หาชมุ ชน ซงึ่ จะทำ� ให้
ไดแ้ ผนการด�ำเนินการทีอ่ ยู่บนภมู ปิ ญั ญาหรือภูมริ ขู้ องชุมชน และท่ีส�ำคัญ คือ การเห็นแนวทางการแก้ไข
ปัญหาด้วยชุมชนเอง และน�ำไปส่กู ารจับมอื เป็นพันธสัญญาเพราะเกดิ จากการคิดเองทำ� เอง
4. การวิเคราะห์สวอท (SWOT)
การวิเคราะห์สวอท (SWOT analysis) เป็นการวเิ คราะหจ์ ุดแข็ง (strengths) จดุ อ่อน (weak-
ness) โอกาส (opportunities) และอปุ สรรค (threats) โดยทวั่ ไปมกั จะใชใ้ นการวเิ คราะหข์ องแวดวงธรุ กจิ
เพื่อให้ทราบปัญหาอุปสรรคข้อเด่นข้อด้อยในการท�ำงาน แต่ก็สามารถน�ำมาปรับใช้กับกรณีของชุมชนได้
เช่นกัน
การวเิ คราะหจ์ ดุ แขง็ จะเปน็ การพจิ ารณาวา่ ชมุ ชนมจี ดุ เดน่ อยา่ งไร มที นุ ทรพั ยากร บคุ คล ความรู้
ทีจ่ ะนำ� มาใชใ้ นการพฒั นาได้ ส่วนจดุ ออ่ น เปน็ การพิจารณาปัญหาท่ีอยใู่ นชมุ ชน ซ่ึงตอ้ งรอการแกไ้ ข ใน
ด้านโอกาส คือ การพิจารณาปัจจัยท่ีจะสนับสนุนการแก้ไขหรือสนับสนุนให้ชุมชนพัฒนา เช่น การมี
งบประมาณจากภายนอก การมีความรภู้ มู ิปัญญาท้องถน่ิ และอุปสรรค คือ ปจั จัยหรอื สถานการณ์ต่างๆ
โดยเฉพาะสถานการณ์จากภายนอกชุมชนที่ส่งผลให้การท�ำงานของชุมชนไม่บรรลุผล เช่น บรรยากาศ
การเมอื ง เศรษฐกจิ ตกตำ�่ เป็นต้น
ดำ� รงศกั ด์ิ แกว้ เพง็ (2555, น. 136-138) เสนอเทคนคิ การวเิ คราะหส์ วอท (SWOT) มสี ามขนั้ ตอน
คือ การเตรียมตวั ผู้เขา้ ร่วม ขัน้ ตอนท่สี อง การวเิ คราะหป์ ัจจัยภายใน จดุ ออ่ น จดุ แข็ง และขั้นตอนทส่ี าม
คือ การวิเคราะห์ปจั จัยภายนอก โอกาส และอุปสรรค
ภายหลังการวิเคราะห์สวอท (SWOT) แล้ว ก็จะน�ำไปสู่การวางวิสัยทัศน์และก�ำหนดเป้าหมาย
การด�ำเนนิ การเพือ่ แกไ้ ขการทำ� งานของชมุ ชน ทง้ั น้ี การวิเคราะหจ์ ะประสบผลสำ� เรจ็ ไดต้ ้องใช้การทำ� งาน
รว่ มกนั การเปดิ เวทชี มุ ชน การใหเ้ หตผุ ล การใชข้ อ้ มลู และการกระตนุ้ ใหค้ ดิ เปดิ เผยประเดน็ ตา่ งๆ ทซ่ี อ่ นเรน้
การเปน็ เจา้ ของร่วมกนั และการด�ำเนนิ การปฏบิ ัตแิ ก้ไขทันที (ธีระภทั รา เอกผาชัยสวสั ดิ์, 2555, น. 389)
อยา่ งไรกด็ ี พงึ ตระหนกั วา่ การทำ� สวอท (SWOT) กอ็ าจมขี อ้ พงึ ระวงั เชน่ อาจมองชมุ ชนเขม้ แขง็
เกินจรงิ การมองปญั หาไมช่ ดั เจน การขาดขอ้ มูล เป็นต้น
กิจกรรม 3.2.3
หลักการของการวจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนรว่ มเปน็ อย่างไร
แนวตอบกิจกรรม 3.2.3
การวิจัยเชิงปฏบิ ตั ิการแบบมสี ว่ นร่วมจะเนน้ การให้คนในชมุ ชนก้าวมามสี ว่ นร่วมในการวจิ ยั โดย
มคี วามเชอื่ วา่ การวจิ ยั จะชว่ ยทำ� ใหช้ มุ ชนไดเ้ กดิ การเรยี นรแู้ ละทส่ี ำ� คญั คอื การนำ� ความรไู้ ปใชใ้ นการแกป้ ญั หา
และเกดิ การเปล่ยี นแปลงในชุมชน