Page 47 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 47
การศึกษาและวเิ คราะหช์ มุ ชนเพอ่ื การวิจยั การสอ่ื สารชุมชน 3-37
ในยุคถัดมา ภายใต้กระบวนทัศน์ท่ีเน้นความส�ำคัญของชุมชน ก็เกิดการประเมินสภาวะชนบท
แบบมีส่วนรว่ ม (Participatory Rural Appraisal: PRA) ซึ่งจะเน้นการให้ชมุ ชนกา้ วเข้ามาร่วมประเมิน
และเรียนรู้การด�ำเนินงาน โดยวางอยู่บนหลักคิดว่า เป็นการให้คนในเป็นคนด�ำเนินการเอง และเน้นการ
เสวนากลมุ่ ให้ชาวบ้านเปน็ คนรว่ มคิดรว่ มท�ำ ใช้ความรูข้ องตนเป็นสำ� คญั และท�ำให้คนในชุมชนตระหนัก
ถึงปัญหาภายในชุมชน ส่วนคนภายนอกจะท�ำหน้าท่ีเป็นเพียงผู้อ�ำนวยความสะดวกในการเรียนรู้เท่านั้น
(ธีระภทั รา เอกผาชัยสวสั ด,์ิ 2554, น. 346 และดำ� รงศักดิ์ แกว้ เพ็ง, 2555, น. 122-128)
ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งานประเมนิ สภาวะชนบทแบบมสี ว่ นรว่ มจะเรม่ิ ตน้ จากนกั พฒั นากระตนุ้ ใหค้ นใน
ชมุ ชนกา้ วเขา้ มามสี ว่ นรว่ มประชมุ เพอ่ื หาปญั หา ผา่ นการเสวนากลมุ่ การกำ� หนดประเดน็ ทต่ี อ้ งการพฒั นา
การกำ� หนดวธิ ีการแสวงหาค�ำตอบ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และการนำ� มาวิเคราะห์ผล แม้จะมีข้อดที ี่คนใน
ชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม แตก่ ม็ ขี อ้ จำ� กดั คอื การรวบรวมอาจไมถ่ กู ตอ้ ง ตลอดจนขดี จำ� กดั ของนกั พฒั นาในการเปน็
ผู้ชว่ ย
2. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
การวิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ ารแบบมสี ่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) เปน็ การวิจัย
ทม่ี เี ปา้ หมายทเี่ นน้ การปฏบิ ตั กิ ารและการเนน้ การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนคกู่ นั กบั นกั วจิ ยั ภายนอก โดยมคี วาม
เชื่อว่าการวิจัยจะช่วยท�ำให้ชุมชนได้เกิดการเรียนรู้ และท่ีส�ำคัญคือ การน�ำความรู้ไปปฏิบัติการเพื่อช่วย
กนั แกไ้ ขปญั หาในชมุ ชน สว่ นนกั วิจัยภายนอกเปน็ เสมือนผู้จัดการ การเสรมิ พลงั และกระตนุ้ การด�ำเนิน
การใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
การวิจัยดังกล่าวอยู่บนปรัชญาเสรีภาพของผู้คนที่มีสิทธิในการบริหารจัดการ คุณค่าภูมิปัญญา
ความรู้ การพง่ึ ตนเอง การรว่ มกนั แกไ้ ขปญั หาดว้ ยตนเอง แตอ่ าจตอ้ งมกี ารเสรมิ สรา้ งพลงั (empowerment)
เพม่ิ เตมิ ในสว่ นทอี่ าจขาดหายไป น่ันก็คือ การมีความรู้การวิจยั แสวงหาความรู้ ปัญหา และการวางแผน
การแก้ไขปัญหาอย่างมีระบบ ซ่ึงในส่วนนี้จะเป็นหน้าที่ของนักวิจัยหรือคนภายนอกชุมชน แนวทางการ
วิจยั ดังกล่าวเริ่มไดร้ ับความสนใจอยา่ งมากในปัจจุบัน เพราะเน้นการใหช้ มุ ชนไดพ้ ัฒนาไดด้ ้วยตวั เอง
สินธ์ุ สโรบล (2554, น. 38-39) และธรี ะภทั รา เอกผาชัยสวสั ด์ิ (2555, น. 366-367) ช้ีให้เหน็
การมีสว่ นร่วมในการวจิ ัยน้ันจะด�ำเนินการตัง้ แต่
ระยะแรก กอ่ นการวิจยั เร่ิมต้นจากการคดั เลือกชมุ ชน ซงึ่ มักจะเนน้ ชมุ ชนที่มีปัญหาต้องการการ
พัฒนา ส่ิงส�ำคัญคือต้องตระหนักว่า ชุมชนแต่ละชุมชนมีความแตกต่างกัน ต่อจากน้ัน คือ การท�ำความ
รู้จักชุมชน การส�ำรวจข้อมูลเบ้ืองต้นร่วมกันกับชุมชน ทั้งด้านสภาพแวดล้อม ปัญหาและทุนหรือพลังใน
ชุมชน นอกจากน้ัน ในข้ันตอนนี้ต้องเผยแพร่ความคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมให้กับชุมชน
เพ่ือใหเ้ ข้าใจเป้าหมายของการเรยี นรู้ การทำ� งานร่วมกันและการปฏบิ ัตกิ ารแก้ไขปัญหาชุมชนโดยชุมชน
ระยะท่ีสอง คอื การลงมือวจิ ยั เรมิ่ จากการร่วมกนั วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับชมุ ชน โดยใชข้ อ้ มูลที่
ส�ำรวจร่วมกันในระยะแรกและเช่ือมโยงกับปัญหา จากน้ัน จึงหาทางออกเพิ่มหรือการหาข้อมูลเพ่ิมเติม
ด้วยการออกแบบงานวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และน�ำเสนอข้อมูลต่อที่ประชุม
หมู่บ้าน เพื่อให้ได้ทราบปัญหาร่วมกันรวมถึงการยืนยันความถูกต้องของปัญหา เพื่อจะน�ำไปสู่การเสนอ