Page 42 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 42

3-32 การศกึ ษาชุมชนเพ่อื การวจิ ัยและพัฒนา
       ส่วนประวตั ศิ าสตรค์ รอบครวั (family histories) กไ็ ม่ต่างไปจากชมุ ชนแตจ่ ะเล็กลงมาและเนน้

เฉพาะความเก่ียวข้องของสมาชิกในครอบครัว โดยมุ่งศึกษาถึงพัฒนาการของครอบครัวแต่ละครอบครัว
สมาชิก อาชีพ ความต้องการ การเปล่ยี นแปลงของขนาดครอบครัว

       ส่วนการท�ำประวตั ศิ าสตรช์ วี ิตจะเนน้ เฉพาะชวี ติ ของบคุ คลในชมุ ชน ประสบการณ์ท่ีผา่ นมา นิยม
ศกึ ษากนั ในหมนู่ กั มานษุ ยวทิ ยาและสงั คมวทิ ยา การศกึ ษามกั จะเปน็ บคุ คลสำ� คญั ในชมุ ชน ผเู้ ฒา่ ผแู้ ก่ ผนู้ ำ�  
รวมถงึ ในบางคร้งั ก็อาจศึกษาผปู้ ระสบปัญหา เชน่ คนจน คนพกิ าร เพ่ือหาแนวทางแกไ้ ข การศกึ ษามกั
จะเนน้ เรื่องเล่า ความรู้สึกของบคุ คลนั้น อนั อาจมาจากทั้งการสัมภาษณ์และบันทกึ ของบคุ คล ซึง่ นอกจาก
จะทำ� ใหเ้ ขา้ ใจชวี ติ แลว้ ยงั ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจสภาพชมุ ชนในชว่ งนน้ั อกี ดว้ ย (แอททคิ , 2548, น. 271 และโกมาตร
จงึ เสถยี รทรพั ย์ และคณะ, 2555) และเมอ่ื ศกึ ษาแลว้ กจ็ ะตอ้ งนำ� มาเขยี นเปน็ แผนภาพเสน้ ทางเวลา (timeline)
ไม่ตา่ งกบั ประวตั ิศาสตร์ชมุ ชนว่า แตล่ ะชว่ งเวลาเกิดเหตกุ ารณ์อะไร

6. 	 การสัมภาษณ์และการสังเกต

       การสมั ภาษณ์ (interview) และการสงั เกต (observation) เปน็ เครอ่ื งมอื ทมี่ กั จะใชใ้ นการวเิ คราะห์
ชมุ ชน ในขณะทก่ี ารสมั ภาษณจ์ ะเน้นการซักถาม เพือ่ ทจ่ี ะไดท้ ราบเหตกุ ารณ์ คำ� อธบิ ายรายละเอยี ด ซง่ึ
การใชแ้ บบสำ� รวจหรอื แบบสอบถามไมอ่ าจไดข้ อ้ มลู ทง้ั หมด รวมไปถงึ การใชแ้ บบสำ� รวจหรอื แบบสอบถาม
มีขอ้ จำ� กัดส�ำหรับกลมุ่ เปา้ หมายบางกล่มุ เชน่ ชาวบา้ น เด็ก ผสู้ ูงอายุ กลุม่ ชาตพิ ันธุ์

       การสัมภาษณ์ จะเร่ิมต้นจากการวางแนวค�ำถามไว้ก่อนล่วงหน้า ซ่ึงมักจะเรียงเป็นข้อๆ ตาม
ประเด็นหรือข้อค�ำถามท่ไี ดว้ างเอาไว้ และหลงั จากนัน้ ผู้สมั ภาษณก์ จ็ ะน�ำคำ� ถามดงั กลา่ วไปส่กู ารซกั ถาม
เพิ่มเตมิ และอาจมกี ารถามเพมิ่ เพ่ือให้ได้รายละเอียดในเชิงลกึ มากยิง่ ขนึ้ โดยอาจเรียกวา่ การสัมภาษณ์
แบบก่งึ โครงสรา้ ง (semi structured interview) หรอื การสนทนาแบบกง่ึ โครงสรา้ ง (semi structured
conversation) ซึง่ จะมีลกั ษณะทยี่ ืดหยุน่

       ชาย โพธสิ ิตา (2547, น. 256-257, 260) ยังขยายความเพิ่มว่า การสมั ภาษณ์ไมเ่ พียงแตก่ าร
หาขอ้ มลู หรอื หาแตค่ วามจรงิ หรอื มงุ่ แตก่ ารถามอยา่ งเดยี ว แตอ่ าจตอ้ งตงั้ ค�ำถามวา่ ความจรงิ อาจเปน็ การ
สร้างขึ้นทั้งจากผู้ให้สัมภาษณ์และตัวผู้สัมภาษณ์เอง ด้วยเหตุน้ีการสัมภาษณ์จึงเป็นกระบวนการร่วมกัน
ของทงั้ สองฝา่ ยในลกั ษณะการสอ่ื สารสองทาง ทงั้ ความหมายของการทที่ ง้ั คจู่ ะมปี ฏสิ มั พนั ธท์ ด่ี รี ะหวา่ งกนั
ตอบสนองสงิ่ ทีพ่ ดู อยา่ งตงั้ ใจ ท�ำให้ผตู้ อบรูส้ กึ สนุก แสดงความเหน็ อกเห็นใจ และการสรา้ งข้อมูลรว่ มกัน

       การสมั ภาษณจ์ ะประสบความสำ� เรจ็ ได้นน้ั สว่ นหนงึ่ ต้องมาจากความสามารถของผ้สู มั ภาษณท์ ม่ี ี
ทงั้ ความรใู้ นประเดน็ ทส่ี มั ภาษณ์ ความสามารถในการซกั ไซไ้ ลเ่ รยี ง การเปน็ ผฟู้ งั ทด่ี ี การสนใจปฏสิ มั พนั ธ์
ของผใู้ หส้ ัมภาษณ์ บรรยากาศการสนทนาต้องมีลกั ษณะเปน็ ธรรมชาติ รวมถึงทำ� ความเข้าใจ จบั ประเดน็
และจดจำ� คำ� ตอบของผใู้ หส้ มั ภาษณใ์ หค้ รบถว้ น โดยอาจจดโนต้ คำ� ตอบครา่ วๆ และหลงั จากสมั ภาษณแ์ ลว้
เสรจ็ คอ่ ยรบี เขยี น ถงึ แมว้ า่ ในปจั จบุ นั จะมเี ทคโนโลยกี ารบนั ทกึ เสยี งอยา่ งดี แตใ่ นบางกรณกี ารสมั ภาษณ์
ในชุมชน ชาวบ้าน กอ็ าจไม่อนุญาตให้บันทกึ เสียงก็เป็นได้ ดงั นั้น ผู้สมั ภาษณจ์ ึงต้องมีทักษะการจ�ำและ
การจดดว้ ย หากผวู้ จิ ยั ตอ้ งการบนั ทกึ เสยี งหรอื ถา่ ยภาพหรอื ถา่ ยวดิ โี อจำ� เปน็ ตอ้ งขออนญุ าตกอ่ น หรอื อาจ
ตอ้ งมกี ารเซน็ หนังสือยินยอม (consent form)
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47