Page 39 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 39

การศกึ ษาและวเิ คราะห์ชุมชนเพอื่ การวิจัยการสื่อสารชุมชน 3-29
       โกมาตร จึงเสถยี รทรัพย์ และคณะ (2555, น. 60) ระบุวา่ การท�ำผังเครอื ญาติมกั จะใชว้ ธิ กี าร
สัมภาษณจ์ ากคนในชมุ ชน ผเู้ ฒ่าผู้แก่ ดทู งั้ ความสัมพนั ธท์ างสายเลอื ด การแตง่ งานเข้า และในบางครงั้ ก็
อาจเปน็ ความสมั พนั ธไ์ มเ่ ปน็ ทางการ อยา่ งการเปน็ บตุ รบญุ ธรรม การเกยี่ วดอง ทำ� ใหจ้ ำ� เปน็ ตอ้ งจดนามสกลุ
การทำ� ผงั เครอื ญาตสิ ว่ นใหญม่ กั จะทำ�  3 ชว่ั อายคุ นหรอื มากกวา่ นนั้ คอื ปยู่ า่ พอ่ แม่ ลกู หลาน และสดุ ทา้ ย
จงึ นำ� มาเรยี งรอ้ ยเปน็ แผนผงั เพอื่ ใหเ้ หน็ ภาพรวมของชมุ ชน โดยใชส้ ญั ลกั ษณร์ ะบเุ พศชายหญงิ การปว่ ย ตาย
รวมถึงการใช้เสน้ เพื่อเชื่อมสายสมั พนั ธก์ นั ของคนในครอบครวั การแตง่ งานเขา้ มา รวมถึงการหย่าร้าง
       ในท้ายที่สุด หากน�ำผังเครือญาติวางทาบกับแผนที่เดินดินก็จะเห็นการเช่ือมโยงของผู้คน เครือ
ญาตกิ บั พนื้ ทไ่ี ดอ้ ยา่ งเดน่ ชดั และเชน่ เดยี วกนั กบั แผนทเ่ี ดนิ ดนิ ผงั เครอื ญาตกิ เ็ ปน็ กจิ กรรมทท่ี ำ� ไมม่ วี นั จบ
เพราะมีการแปรเปลี่ยนของผ้คู นตามกาลเวลา

3. 	 ผังองค์กรชุมชน

       การทำ� ผงั องคก์ รชมุ ชน (community organization) เปน็ เครอื่ งมอื หนงึ่ ในการวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ ง
สถาบันท่ีอยู่ในชุมชนที่นอกเหนือจากสถาบันครอบครัว เพราะภายในชุมชนจะมีองค์กรต่างๆ ฝังอยู่ท้ัง
โครงสรา้ งการปกครอง เศรษฐกิจ ศาสนา เกษตร สาธารณสขุ กองทนุ และแม้กระทงั่ ส่ือชมุ ชน การท�ำผงั
องคก์ รกไ็ มต่ า่ งไปจากการทำ� ผงั เครอื ญาตกิ ค็ อื การเหน็ ระบบ เครอื ขา่ ย ความสมั พนั ธ์ ทกี่ อ่ ตวั ขน้ึ ในชมุ ชน
และที่สำ� คัญคอื การแสดงใหเ้ หน็ ทนุ ทจ่ี ะเข้ามามีสว่ นรว่ มในการดำ� เนนิ กจิ กรรมของชมุ ชน

       โกมาตร จึงเสถียรทรพั ย์ และคณะ (2555, น. 85) เสนอแนวทางการท�ำผงั องค์กรชมุ ชน ดว้ ย
การสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตการณ์กิจกรรมต่างๆ โดยเริม่ จากข้อมูล ตามประเด็นดังตอ่ ไปนี้

       1) 	ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ โดยศกึ ษาอาชพี ในชมุ ชน กจิ กรรมทเี่ กดิ ขน้ึ ดา้ นเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่
กลมุ่ ออมทรัพย์ กองทุนชุมชน กลุม่ แชร์ นายทุนเงินกู้ และพิจารณาวา่ ใครมบี ทบาทอะไร และกล่มุ ตา่ งๆ
สัมพันธ์กนั อยา่ งไร นอกจากนนั้ ยังพจิ ารณาจากปจั จยั ทรพั ยากรในทอ้ งถิ่น และผูม้ บี ทบาทท่ีเกีย่ วข้อง

       2) 	ความสมั พนั ธท์ างสงั คม โดยพจิ ารณาจากกลมุ่ ตา่ งๆ ในสงั คม ทง้ั วยั รนุ่ วยั แรงงาน ผสู้ งู อายุ
พอ่ บา้ น แมบ่ า้ น กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ ศาสนา และยงั หมายรวมถงึ กลมุ่ นกั สอ่ื สารชมุ ชน วทิ ยชุ มุ ชน หอกระจายขา่ ว
สอ่ื พ้ืนบ้านอีกดว้ ย

       3) 	ความสัมพันธ์ทางการเมือง นอกจากจะพิจารณาจากโครงสร้างการปกครองทอ้ งถิ่นแลว้ ยัง
พิจารณาได้จากกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มขัดแย้ง และพื้นท่ีสาธารณะในชุมชนท่ีแสดงออกทางการเมือง
อย่างสภากาแฟ

       หลังจากที่ได้ข้อมูลแล้ว จึงน�ำมาสู่ข้ันตอนการท�ำผังเครือข่าย เริ่มจากผู้น�ำที่มีบทบาท และใช้
สัญลักษณ์ต่างๆ คล้ายคลึงกับผังเครือญาติ และใช้เส้นเช่ือมความสัมพันธ์ หรือเส้นแสดงออกถึงความ
สัมพันธ์ท่ีขัดแย้งกันระหว่างกลุ่ม หากเป็นกลุ่มเดียวกันก็อาจใช้การวงกลมเส้นประเพื่อให้เห็นว่า เป็น
สมาชกิ เดยี วกนั เมอื่ นำ� กลมุ่ ตา่ งๆ มาตอ่ กนั กจ็ ะพบเครอื ขา่ ยทางสงั คมของชมุ ชนแหง่ นที้ งั้ หมดวา่ มกี ลมุ่
อะไรบา้ ง มีการเชอ่ื มร้อยกันอยา่ งไร

       การทำ� ผงั โครงสรา้ งองคก์ รชมุ ชนไมต่ า่ งจากผงั เครอื ญาตทิ จ่ี ะใชเ้ วลาในการดำ� เนนิ งาน และคอ่ ยๆ
ตอ่ ไปเรอื่ ยๆ อาจมกี ารปรบั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ และอาจมกี ารเพม่ิ เตมิ หรอื เปลย่ี นแปลงไปตามกาลเวลา
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44