Page 43 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 43
การศกึ ษาและวิเคราะห์ชุมชนเพือ่ การวิจัยการสอื่ สารชมุ ชน 3-33
ส�ำหรับการสังเกต เป็นพื้นฐานเดิมของการแสวงหาความรู้ของมานุษยชาติเพราะเป็นการแสวง
ความจรงิ ในชีวติ ประจ�ำวนั การสงั เกตยงั เป็นวิธีการที่นักมานุษยวทิ ยานิยมใช้ เพราะเชอื่ วา่ เพียงแค่การ
ตอบแบบสอบถามหรอื การสมั ภาษณอ์ าจไมไ่ ดข้ อ้ มลู ทจ่ี รงิ จำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะตอ้ งกา้ วเขา้ ไปในชมุ ชนเพอ่ื
เห็นเหตุการณ์จริง ชาย โพธิสิตา (2547, น. 302) อธิบายว่า การสังเกตเป็นกระบวนการที่ต้องเฝ้าดู
ปรากฏการณ์ ในขณะที่ปรากฏการณ์น้นั เกดิ ข้นึ และดำ� เนินไปตามธรรมชาติ ติดตอ่ กันเปน็ เวลานาน โดย
ไม่มกี ารควบคมุ หรือดดั แปลง
ทงั้ น้ี การสงั เกตอาจมที งั้ การดภู ายนอกเฉยๆ หรอื ในฐานะคนนอก ซงึ่ อาจอยหู่ า่ ง ไมม่ ปี ฏสิ มั พนั ธ์
กับชุมชน เหมาะกับการตรวจสอบส่ิงที่ได้รับรู้มาก่อนหน้านั้นแล้ว อีกแบบหน่ึง คือ การก้าวเข้าไปร่วม
กิจกรรมน้ัน ในฐานะคนใน ซึ่งการเข้าไปร่วมกิจกรรมจริงๆ เน้นการมีส่วนร่วม และไม่ใช่แต่ใช้เพียงการ
สังเกตแต่อาจยงั ใชก้ ารสัมภาษณ์ ซักถามเพ่ิมเติม การสงั เกตแบบมีส่วนร่วมนี้มขี ้อดีคือ การคลกุ คลี การ
สร้างการยอมรบั ของคนในชุมชนไดม้ ากกวา่ แตก่ ม็ ีข้อเสียบา้ งอยา่ งการใชเ้ วลานาน
นอกจากนนั้ การสงั เกตแบบมสี ว่ นรว่ มยงั สามารถจำ� แนกออกไปไดอ้ กี คอื การทชี่ มุ ชนรวู้ า่ ผวู้ จิ ยั
คือผวู้ ิจยั และอกี กรณีคือ ชมุ ชนไมร่ ูว้ ่า ผ้วู ิจัยกำ� ลังท�ำวิจัย ซึง่ จะทำ� ให้บรรยากาศต่างกนั กล่าวคือ แบบ
แรก ยังท�ำให้มีระยะห่างของผู้วิจัยกับชุมชน ส่วนแบบที่สองคือ ชุมชนจะไม่ระมัดระวังตัวและมองผู้วิจัย
เปน็ คนใน แตก่ ็อาจประสบปัญหาไดถ้ งึ การหลอกลวงไดเ้ ชน่ กัน แต่จะมีประโยชนอ์ ย่างมากสำ� หรบั ชุมชน
ปิดที่ไมต่ ้องการแสดงตัวตนของผูว้ จิ ยั กรณขี องตำ� รวจสืบสวนราชการลับทก่ี ล่มุ โจร
หลกั การเบ้อื งต้นของการสังเกต (ชาย โพธิสติ า, 2547, น. 321-323) ซึ่งพัฒนาจากล้อฟท์ แลนด์
(Loftland) คอื การสงั เกตจาก (1) สถานท่ี หรือทเี่ กดิ เหตกุ ารณ์ (2) กจิ กรรมหรือปรากฏการณ์ท่ีเกดิ ข้ึน
ซง่ึ เปน็ สว่ นสำ� คญั ทส่ี ดุ เพราะกจิ กรรมจะเกยี่ วขอ้ งกบั บคุ คลทเี่ ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ ม ความสมั พนั ธข์ องคนทเ่ี ขา้ รว่ ม
การเกิดและการคล่ีคลายของปรากฏการณ์ นอกจากนั้น ยังต้องวิเคราะห์ความหมายท่ีปรากฏด้วย และ
(3) บรบิ ทหรอื สง่ิ แวดลอ้ ม ซงึ่ ขยายความจากสถานทไี่ ปถงึ บรบิ ททางประวตั ศิ าสตร์ สงั คม วฒั นธรรม และ
แม้กระทั่งเคร่อื งแตง่ กายของคนที่เขา้ ร่วม ซึ่งจะท�ำใหช้ ่วยใหเ้ กดิ ความเข้าใจมากขึน้
อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นการสังเกตแบบใดจ�ำเป็นต้องมีการสร้างสัมพันธ์ (rapport) หรือการ
ยอมรับในชุมชนก่อนเพ่ือให้การสังเกตท�ำได้โดยง่าย ซ่ึงอาจท�ำได้จากการแนะน�ำตัวเอง การเข้าร่วม
กจิ กรรมในชุมชน เป็นต้น (ประสิทธ์ิ ลรี ะพันธ์ และอุดม ศรีทิพย,์ 2548)
ทง้ั นี้ ภายหลงั การสมั ภาษณแ์ ละสงั เกตควรจะตอ้ งมกี ารจดบนั ทกึ เอาไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน เพอื่ สามารถ
นำ� มาใช้ในการวิจยั ได้ โดยอาจแบ่งเปน็ ชอ่ งการสัมภาษณ์/การสงั เกตไว้ดา้ นซา้ ยมอื และการตีความหรือ
ความคดิ เห็นของผวู้ จิ ยั ไว้ดา้ นขวา
7. การจัดระบบและตีความเอกสารและบันทึกต่าง ๆ
เอกสารและการบนั ทึกต่างๆ เป็นแหลง่ ข้อมูลที่จะพบไดใ้ นการศึกษาชุมชน อาทิ ใบลาน บันทึก
เยยี่ มเยยี นหมบู่ า้ น อนทุ นิ รายงานสขุ ภาพชมุ ชน รายงานการประชมุ หนงั สอื ตำ� รา การศกึ ษาจากเอกสาร
มักจะท�ำให้เข้าใจประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชุมชนในด้านต่างๆ และมีข้อดีกว่าการสัมภาษณ์ที่อาจ
ไมล่ ะเอยี ดครอบคลมุ เทา่ แตใ่ นเวลาเดยี วกนั กอ็ าจมปี ญั หาคอื ขอ้ มลู บางครงั้ กม็ ปี รมิ าณมากตอ้ งใชค้ วาม
อดทน การค้นหาขอ้ มูล และการตรวจสอบข้อมลู