Page 41 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 41

การศกึ ษาและวิเคราะห์ชมุ ชนเพ่อื การวจิ ัยการสอ่ื สารชมุ ชน 3-31
เหตุการณ์กับระยะเวลาซ่ึงไม่ได้เป็นเร่ืองบังเอิญ แต่เป็นส่ิงท่ีเป็นแบบแผน ตัวอย่าง การกู้ยืมเงินมักจะ
สมั พนั ธก์ ับฤดูการผลิต และสำ� หรับนกั พฒั นา ประโยชนข์ องการทำ� ปฏิทินชุมชน คือ ทราบถึงระยะเวลาท่ี
จะจดั ตารางการทำ� งานของนกั พฒั นากบั ชมุ ชนไดไ้ มใ่ หซ้ อ้ นกนั หรอื จะไดท้ ราบวา่ ในชว่ งเวลาใดมกี จิ กรรม
อะไร เชน่ ชว่ งเดอื นเมษายน มงี านสงกรานตแ์ ละมกั จะพบการดม่ื สรุ า กจ็ ะสามารถจดั กจิ กรรมเพอ่ื รณรงค์
แก้ไขปญั หาดืม่ สรุ าได้

       หลกั การท�ำปฏทิ นิ ชมุ ชน มกั จะเน้นปฏทิ ินดา้ นเศรษฐกจิ และวฒั นธรรม ในกรณแี รก ปฏทิ นิ ดา้ น
เศรษฐกิจจะรวบรวมข้อมลู เกีย่ วกับอาชีพ ทงั้ คนในชุมชนท่ที �ำในชมุ ชนเอง และทำ� มาหากนิ ทีอ่ ื่น รวมถึง
คนนอกทท่ี ำ� อาชพี ในชมุ ชน โดยพจิ ารณาถงึ ระยะเวลาในหนง่ึ ปี สว่ นปฏทิ นิ วฒั นธรรม กจ็ ะรวบรวมกจิ กรรม
ด้านศาสนาและวัฒนธรรมในรอบ 12 เดือน และเป็นที่น่าสังเกตคือ หากชุมชนมีความหลากหลายของ
ชาติพันธุภ์ ายในปฏทิ ินกจ็ ะมคี วามหลากหลายของกจิ กรรมในแต่ละชว่ งเวลาเช่นกัน

       วธิ กี ารทำ� ปฏทิ นิ ชมุ ชน เรม่ิ จากการแบง่ ปฏทิ นิ เปน็ สองแบบ คอื เศรษฐกจิ และวฒั นธรรม ตอ่ จาก
น้ันก็จะสอบถามข้อมูล เป็นที่น่าสังเกตว่า บางคร้ังปฏิทินท้ังสองจะเกี่ยวข้องกันด้วย กล่าวคือ เทศกาล
งานบญุ กจ็ ะเชอื่ มโยงกบั อาชพี ของเกษตรกร อยา่ งไรกด็ ี เพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การจดั การ โกมาตร จงึ เสถยี รทรพั ย์
และคณะ (2555, น. 132) จึงเสนอใหท้ ำ� ปฏิทินแยก โดยแบบแรกจะเลอื กอาชพี ส�ำคัญในชุมชนก่อน และ
สอบถามหรือสมั ภาษณ์ขอ้ มูล และน�ำมาเรยี งในชอ่ งตาราง ส่วนแบบทสี่ อง ปฏทิ นิ วัฒนธรรมจะเชื่อมโยง
ด้านเทศกาล งานบุญ กจิ กรรมในชมุ ชน อาทิ การเข้าค่าย ปดิ เทอม โดยใช้วธิ ีการสอบถามหรือสมั ภาษณ์
และระบลุ งในปฏทิ นิ 	

5. 	 ประวัติศาสตร์ชุมชน-ประวัติศาสตร์ชีวิต

       การศึกษาประวตั ศิ าสตรช์ มุ ชน (local history)-ประวัตศิ าสตร์ชวี ติ (life story) เปน็ การศึกษา
อดีตความเป็นมาของคนและชุมชน การศึกษาจะท�ำให้เห็นความรู้สึกนึกคิดของคนในชุมชนในอดีต ยัง
สามารถทำ� นายไปสอู่ นาคตไดเ้ ชน่ กนั รวมถงึ ในกรณขี องชวี ติ ของบคุ คลกอ็ าจเปน็ เสมอื นแนวทางการดำ� รง
ชีวติ ทนุ หรือทรพั ยกรในชุมชนได้ดว้ ย (โกมาตร จึงเสถยี รทรพั ย์ และคณะ, 2555)

       การศึกษามักจะใช้เครื่องมือที่หลากหลายนับต้ังแต่การอ่านบันทึกเอกสาร เรื่องเล่าต�ำนาน ข้าว
ของเครอ่ื งใช้ รวมถงึ การสมั ภาษณจ์ ากผรู้ ู้ ผอู้ าวโุ ส ตวั บคุ คล ทงั้ นี้ จดุ ทพ่ี งึ ตระหนกั คอื ประวตั ศิ าสตรอ์ าจ
เปน็ เรื่องเลา่ ทีแ่ ตกต่างหลากหลาย ขัดแยง้ กันก็ได้

       การท�ำประวัติศาสตรช์ ุมชน โดยทั่วไปการศึกษาจะจ�ำแนกประวัตศิ าสตร์ออกเป็น ประวัตศิ าสตร์
สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์การเมือง และเมื่อได้ข้อมูลก็น�ำมาเรียงกันและ
เขยี นเป็นแผนภาพในลักษณะเส้นทางเวลา (timeline) ว่า ในชว่ งปีแต่ละปีได้เกดิ เหตกุ ารณ์อะไรขึ้น

       แอททคิ (2548, น. 279-230) ยังเสรมิ วา่ ประวตั ิศาสตร์ชมุ ชน ยงั อาจอยภู่ ายใต้หวั ขอ้ ประวัติ
ของกลมุ่ (group-focused histories) ซง่ึ หมายถงึ การศกึ ษาสงั คมชมุ ชนหรอื ครอบครวั เพอ่ื จะทำ� ใหเ้ หน็
ว่า ชุมชนมีการด�ำรงอยู่ได้อย่างไร มีความสัมพันธ์เช่นไร ค�ำถามที่มักจะศึกษา คือ การก่อตัว การ
เปล่ียนแปลงของชุมชนทั้งเร่อื งเศรษฐกจิ ประชากร การเมือง วฒั นธรรม ทรัพยากร ธรรมชาติ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46