Page 38 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 38

3-28 การศึกษาชมุ ชนเพื่อการวิจยั และพัฒนา
       โกมาตร จงึ เสถยี รทรพั ย์ และคณะ (2555) อธบิ ายวา่ แผนทเี่ ดนิ ดนิ เปน็ แผนทที่ ม่ี ปี ระโยชนม์ าก

เพราะท�ำบนพ้ืนท่ีจริง มีการปรับปรุงอย่างทันเหตุการณ์ และท่ีส�ำคัญคือ การมองเห็นความสัมพันธ์ของ
คน ความหมายของพื้นที่แต่ละแห่งที่อาจมองไม่เห็นหากพิจารณาเฉพาะแผนท่ีทางกายภาพอย่างเดียว
เชน่ แผนท่ี ชมุ ชนอาจเผยให้เหน็ ว่า บรเิ วณใดเป็นจดุ ศูนยก์ ลางของชมุ ชน บรเิ วณใดเปน็ พ้นื ทที่ ีม่ ปี ญั หา
ในชุมชน บรเิ วณใดใครเป็นเจ้าของ อน่งึ โกมาตร ได้ย้ำ� ว่า แผนท่เี ดนิ ดินมกั จะเปน็ แผนท่ีทไี่ ม่ไดท้ �ำสำ� เรจ็
เพียงครั้งเดียว เพราะพนื้ ท่จี ะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

                            แผนท่ีเดินดิน

ที่มา: 	ตวั อย่างแผนที่เดนิ ดนิ (โกมาตร จงึ เสถยี รทรัพย์ และคณะ, 2555, น. 39)

2. 	 ผังเครือญาติ

       ผงั เครอื ญาติ (genogram) เปน็ อกี หนง่ึ เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาผคู้ นและความสมั พนั ธใ์ นชมุ ชน
ผังเครือญาติเป็นแผนผังท่ีระบุใหเ้ ห็นสายสัมพันธ์ของคนในชุมชน ทัง้ ความสัมพนั ธท์ างสายเลือดและการ
แตง่ งาน ใครเป็นญาตใิ คร และมีความสัมพันธก์ นั เช่นไรรุ่นต่อรุ่น และมปี ระโยชน์โดยเฉพาะในการเขา้ ใจ
ถงึ เครอื ขา่ ยของคนในชมุ ชน โรคทเ่ี กดิ ขนึ้ อำ� นาจการเมอื ง รวมถงึ สำ� หรบั นกั วจิ ยั กจ็ ะทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ
อันดีกับชุมชนได้ง่ายขึ้น เพราะผู้วิจัยก็จะรู้จักตัวละครในชุมชนหรือเทียบได้กับโรงละครได้ครบถ้วน
(โกมาตร จงึ เสถยี รทรพั ย์ และคณะ, 2555, น. 55-56)
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43