Page 35 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 35
การศกึ ษาและวเิ คราะหช์ มุ ชนเพ่ือการวิจัยการสอื่ สารชมุ ชน 3-25
ตัวอย่างแบบสอบถามในด้านสถานบริการสุขภาพชุมชน
ชื่อ นามสกุล อายุ เพศ นับถือศาสนา
การศึกษา อาชีพ รายได ้ บาท
สถานภาพแตง่ งาน (1) โสด (2) สมรส (3) หยา่ รา้ ง
จ�ำนวนสมาชิกในครอบครวั คน
ความบ่อยครง้ั ของการรบั บริการสุขภาพ (1) ทุกเดอื น (2) ปลี ะ 3-4 คร้ัง (3) นานนานครั้ง
ระยะทางการเดินทางจากบา้ นไปสถานบรกิ ารสะดวกหรอื ไม่
การให้บริการของสถานบริการสขุ ภาพ (1) ดี (2) ปานกลาง (3) พอใจ (4) ควรปรับปรุง
ทศั นะตอ่ เจ้าหนา้ ที่ให้บริการสุขภาพ (1) ดี (2) ปานกลาง (3) พอใจ (4) ควรปรับปรงุ
2. การวัดการสื่อสารและปริมาณส่ือในชุมชน
ในขณะที่หัวข้อที่ผ่านมาการท�ำส�ำมะโนครัวเรือนจะมุ่งเน้นการวัดถึงตัวประชากร สถานภาพ
ลักษณะต่างๆ ดังท่ีอธิบายไปแล้ว แต่ส�ำหรับกรณีนี้จะมุ่งเน้นการศึกษาการส่ือสารและสื่อในชุมชนว่ามี
ลกั ษณะเชน่ ไร เชน่ การพจิ ารณาปรมิ าณสอื่ ในชมุ ชน ทศิ ทางการสอ่ื สารในชมุ ชน ประเภทของสอื่ ในชมุ ชน
การใช้ส่ือ โดยยังใช้เคร่ืองมือคือ แบบสอบถาม ข้อมูลที่ได้จะท�ำให้เห็นว่า ชุมชนมีปริมาณส่ืออย่างไร
มกี ารใช้อย่างไร
นอกจากน้ัน การวัดส่ือยังอาจขยายไปได้ถึงการพิจารณาถึงการเปิดรับสื่อชุมชนและทัศนคติที่มี
ตอ่ สอื่ ชุมชนตา่ งๆ เช่น การเปดิ รบั ส่ือวิทยุชมุ ชนของคนในชุมชน ความถขี่ องการเปดิ รบั ปริมาณการเปดิ
รับ ความชอบตอ่ รายการวิทยชุ มุ ชนท่ไี ดฟ้ ัง ความต้องการฟังรายการ และข้อเสนอแนะตอ่ วิทยชุ ุมชน ซึ่ง
ผลการดำ� เนินการกจ็ ะนำ� ไปสู่การพัฒนาการดำ� เนนิ งานของวิทยชุ มุ ชนในอนาคต เปน็ ตน้
ตัวอย่างการวัดด้านการสื่อสารในชุมชน
ช่อื นามสกุล อายุ เพศ
การศึกษา อาชีพ รายได ้ บาท
สถานภาพแตง่ งาน (1) โสด (2) สมรส (3) หยา่ ร้าง
การเปิดรับวิทยุชมุ ชนในแตล่ ะวนั (1) ไม่เปดิ (2) นอ้ ยกว่า 1 ช่วั โมง (3) 1-2 ช่ัวโมง
(4) มากกวา่ 2 ช่ัวโมง
รายการวิทยุชมชนท่ีฟัง (สามารถตอบได้มากกว่า 1) (1) ขา่ ว (2) เพลง (3) สมั ภาษณ์ (4) พดู คยุ