Page 52 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 52
3-42 การศกึ ษาชุมชนเพอ่ื การวิจยั และพฒั นา
2. กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
สินธุ์ สโรบล (2554) เสนอกระบวนการวิจัยของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.)
ท่ีเน้นการวิจัยเพื่อท้องถ่ิน โดยให้ชุมชนก้าวเข้ามามีส่วนร่วม แต่ยังจ�ำเป็นต้องให้นักวิจัยภายนอกเป็นผู้
ชว่ ยหรอื ผสู้ นบั สนนุ แนวทางท่ี สกว. ใชน้ นั้ องิ การวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม (participatory action
research) ซง่ึ เนน้ การวจิ ยั ของชมุ ชน การปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง ซงึ่ ดำ� เนนิ การมามากกวา่
ทศวรรษและประสบผลส�ำเร็จ ดังนน้ั ในท่ีนี้จะประยกุ ตแ์ นวทางการดำ� เนนิ งานของ สกว. มาใช้ ดงั นี้
ขั้นตอนแรก การเตรียมชุมชนและการก�ำหนดปัญหา ในข้นั ตอนนี้ จะเปน็ สว่ นที่แตกตา่ งไปจาก
การวจิ ยั ทว่ั ไปทค่ี นภายนอกเปน็ คนดำ� เนนิ งานอยา่ งเดยี วซงึ่ มงุ่ ไปสกู่ ารกำ� หนดปญั หา แตส่ ำ� หรบั ในขนั้ ตอน
นี้จะเน้นให้ชุมชนก้าวเข้ามามีส่วนร่วมในการวิจัย ด้วยเหตุน้ีนักวิจัยภายนอกจึงต้องก้าวไปเตรียมคนใน
ชมุ ชนเพอ่ื ใหพ้ รอ้ มกบั การเปน็ นกั วจิ ยั ดว้ ย อาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ ขน้ั ตอนกอ่ นการวจิ ยั ซง่ึ เทา่ กบั วา่ เปน็ การ
วจิ ัยโดยคนในชมุ ชน
กาญจนา แกว้ เทพ (2553, น. 29) ชเี้ พม่ิ เตมิ วา่ แนวทางการทำ� งานนถ้ี อื เปน็ การเปลย่ี นชาวบา้ น
ทเ่ี ดมิ เปน็ เพยี งผถู้ กู วจิ ยั ใหก้ ลายเปน็ นกั วจิ ยั ในสว่ นนจี้ ำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารพฒั นาความคดิ วา่ การวจิ ยั เปน็ เรอ่ื ง
ทช่ี าวบ้านกท็ �ำได้ โดย สกว. เปน็ เสมือนพีเ่ ลยี้ งท่ชี ่วยพัฒนาชาวบ้าน
ในส่วนนี้ สินธ์ุ สโรบล เสนอว่า จะตอ้ งเรมิ่ จากการที่ให้คนในชุมชนเหน็ ปญั หาสาเหตุ และน�ำไป
สู่การแก้ไขปัญหาร่วมกันด้วยการใช้การวิจัยเป็นเคร่ืองมือ หลังจากนั้น ก็จะต้องพัฒนาให้คนในชุมชนได้
เข้าใจแนวคิดและกระบวนการวจิ ยั ตงั้ แต่การตั้งค�ำถาม การกำ� หนดวัตถปุ ระสงค์ การวางแผนการท�ำวิจยั
การใชเ้ ครอื่ งมอื การวิจยั การเกบ็ รวบรวม การวเิ คราะห์ การเขยี นสรปุ ผลการวจิ ัย
ในข้ันตอนการก�ำหนดปัญหาวิจัยนั้น อาจมิได้มองเฉพาะปัญหาท่ีเกิดข้ึน แต่อาจต้องพัฒนาให้
คนในชุมชนได้มองถึงศักยภาพของชุมชนในการแก้ไขปัญหาไปพร้อมๆ กัน ธีระภัทรา เอกผาชัยสวัสดิ์
(2555, น. 407-415) เห็นพ้องวา่ จะต้องพิจารณาถึงสภาพปญั หาความตอ้ งการของชมุ ชน สาเหตุท่เี กดิ
ข้ึน รวมถึงในอีกด้านหนึ่งจ�ำเป็นต้องศึกษาความสามารถของชุมชนในการแก้ไขปัญหาด้วย และบุคคลท่ี
เก่ียวขอ้ งกับประเดน็ นัน้ ซึ่งทง้ั หมดจะมีผลต่อการวิจัยแบบมีสว่ นรว่ ม
ขนั้ ตอนทส่ี อง การออกแบบ ก�ำหนดแผนงานวิจัย และเก็บข้อมูล เปน็ ขน้ั ตอนหลงั จากทไี่ ดโ้ จทย์
หรอื ปัญหาการท�ำวิจยั แลว้ ก็นำ� มาสูก่ ารออกแบบกระบวนการวจิ ัยและเก็บข้อมูล
ในสว่ นของการวางแผนการวจิ ยั นอกเหนอื จากการกำ� หนดวธิ กี ารวจิ ยั เครอื่ งมอื การวจิ ยั แลว้ อาจ
ต้องพจิ ารณาถึงการใหค้ นในชุมชนมีส่วนร่วมในการเกบ็ ข้อมูล พรอ้ มทงั้ การกำ� หนดระยะเวลาที่เหมาะสม
กบั การเก็บขอ้ มลู กบั ชมุ ชน ตลอดจนการมองหาบคุ คลในชุมชนท่เี หมาะสมที่ร่วมเกบ็ ขอ้ มูล
ขั้นตอนท่ีสาม การปฏิบัติการ หมายถึง การที่ชุมชนต้องก้าวไปสู่การปฏิบัติการเพ่ือการแก้ไข
ปัญหาชุมชนที่ตระหนัก โดยน�ำผลการเก็บข้อมูลงานวิจัยที่ท�ำไว้ในขั้นตอนท่ีสองมาสู่การปฎิบัติหรือการ
พฒั นาแก้ไขปญั หา โดยชุมชนได้ท�ำกิจกรรมเพื่อการพัฒนาแก้ไขปัญหาชุมชน
นอกจากนนั้ ในสว่ นนย้ี งั อาจตอ้ งมขี นั้ ตอนเพมิ่ เตมิ ในดา้ นการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การ
ซ่ึงกค็ งตอ้ งเนน้ ยำ�้ การมีส่วนร่วม เพือ่ ให้เกดิ การปรบั ปรุงในอนาคต