Page 54 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 54

3-44 การศึกษาชุมชนเพ่ือการวจิ ัยและพฒั นา

เรื่องท่ี 3.3.2
แนวทางการปฏิบัติในการวิจัยชุมชน

       ไมว่ า่ จะเปน็ การวจิ ยั ในรปู แบบใด จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารปฏบิ ตั ใิ นการวจิ ยั ชมุ ชน และตอ้ งมกี ารเตรยี มตวั
ในการก้าวสู่ชุมชนของนักวิจัยภายนอก เพราะชุมชนแต่ละแห่งจะมีโครงสร้างรูปแบบการด�ำเนินชีวิตท่ีมี
ลกั ษณะเฉพาะนกั วจิ ยั จงึ อาจเปน็ สง่ิ ทแ่ี ปลกปลอม แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการวจิ ยั ชมุ ชนอาจจำ� แนกไดเ้ ปน็
อย่างนอ้ ยสามข้นั ตอน คอื ขั้นกอ่ นการลงชุมชน ข้นั ลงชุมชน และหลังจากลงชุมชน

1. 	 ขั้นก่อนการลงชุมชน

       ขน้ั กอ่ นการลงชมุ ชนจะเปน็ ขนั้ ตอนเตรยี มตวั กอ่ นลงชมุ ชน การเตรยี มตวั นย้ี งั มขี น้ั ตอนยอ่ ยลงไป
อีกหลายขั้นตอน ทวีศกั ดิ์ นพเกษร (2551) ได้สรปุ ใหเ้ หน็ ว่า จ�ำเปน็ ตอ้ งมีการเตรยี มตวั ดงั ตอ่ ไปนี้

       1) 	การคาดการณ์ก่อนลงสนาม หมายถงึ การทน่ี กั วจิ ยั ภายนอกจะตอ้ งคาดการณว์ า่ พน้ื ทช่ี มุ ชน
ทจี่ ะลงไปน้ันมีลักษณะใด การเตรียมน้ีนอกจากการเตรียมข้อมลู ความรู้แล้ว ยังหมายรวมถงึ การเตรียม
วสั ดุอปุ กรณ์ที่เก่ียวข้อง

       2) 	การวางแผนการด�ำเนินงาน หมายถึง การก�ำหนดระยะเวลาการลงพ้ืนที่ชุมชนวา่ จะลงพ้นื ที่
เมอ่ื ไร ระยะเวลาทลี่ งไปนนั้ เปน็ ไปเทา่ ไร ยงิ่ กวา่ นนั้ หากสามารถกำ� หนดไดว้ า่ แตล่ ะการลงพนื้ ทมี่ กี จิ กรรม
อะไร กย็ ง่ิ ทำ� ให้การคน้ ควา้ หาขอ้ มลู เป็นไปไดอ้ ย่างรวดเรว็

       การวางแผนน้ี ยังหมายรวมไปถึงการค้นหาบุคคล (key person/informant) ท่ีท้ังเป็นตัวช่วย
ในการทำ� วิจยั แล้ว ยังเป็นผู้ใหข้ อ้ มูลอกี ด้วย

       3) การเตรียมตัวนักวิจัย ซึง่ ในที่น้จี ะหมายรวมถงึ นกั วจิ ัยผู้ชว่ ยดว้ ย ในข้ันตอนน้ี ต้องฝึกฝนให้
นกั วจิ ยั สามารถลดอคตทิ จี่ ะเกดิ ขน้ึ จากการทำ� วจิ ยั รวมถงึ การทำ� ความเขา้ ใจในประเดน็ ทจ่ี ะวจิ ยั เครอ่ื งมอื
การวจิ ัย

2. 	 ข้ันการลงชุมชน

       ในข้นั ตอนการลงชุมชน กจ็ ำ� เป็นตอ้ งมีการเตรยี มการเช่นกัน
       1) 	การก�ำหนดบทบาทและสถานภาพของผู้วิจัย หมายถึง การที่ผู้วิจัยท่ีเป็นคนภายนอกต้อง
ชแี้ จงใหช้ มุ ชนได้ทราบถงึ สถานภาพของนักวจิ ยั เป็นใคร เข้ามาเพื่ออะไร เพื่อที่จะทำ� ใหเ้ กิดความร่วมมอื
ในการทำ� วิจยั การชี้แจงอาจไมใ่ ชแ่ ตเ่ พียงชมุ ชนแตห่ มายรวมถงึ หนว่ ยงานในชมุ ชนด้วย ดงั นนั้ ผวู้ จิ ัยจึง
จำ� เปน็ ตอ้ งวเิ คราะหก์ ลมุ่ ผเู้ กย่ี วขอ้ งในชมุ ชนเพอ่ื ทจ่ี ะเขา้ ถงึ ทกุ กลมุ่ (ประสทิ ธ์ิ ลรี ะพนั ธ์ และอดุ ม ศรที พิ ย,์
2548 และทวศี กั ด์ิ นพเกษร, 2551)
       2) 	การสร้างความสัมพันธ์และการยอมรับ (rapport) เป็นส่ิงส�ำคัญอย่างมาก เพราะจะท�ำให้
เกดิ สมั พนั ธภาพแลว้ ยงั ไดข้ อ้ มลู รายละเอยี ดจากคนในชมุ ชน ประสทิ ธ์ิ ลรี ะพนั ธ์ และอดุ ม ศรที พิ ย์ (2548)
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59