Page 65 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 65
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวจิ ยั การสอ่ื สารชมุ ชน 7-55
เม่ือนักวิจัยวิเคราะห์ข้อมูลแล้ว ควรใช้เกณฑ์ข้างต้นเทียบเคียงกับข้อมูลในมือ เพื่อดู “คุณภาพ
ของขอ้ มูล” เพราะหาก “ข้อมูลอ่อน” กม็ คี วามเปน็ ไปไดว้ ่า ผลการศึกษาท่ไี ดไ้ มน่ า่ เชอ่ื ถอื
กิจกรรม 7.3.3
การตรวจสอบขอ้ มูลหลงั การวิเคราะหข์ อ้ มูลเชิงคุณภาพทส่ี ำ� คญั คอื อะไร จงอธบิ าย
แนวตอบกิจกรรม 7.3.3
การตรวจสอบขอ้ มลู หลงั การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ คณุ ภาพทสี่ ำ� คญั คอื การตรวจสอบความเปน็ ตวั แทน
ของข้อมลู และการประเมนิ คุณภาพของข้อมูล
การตรวจสอบความเป็นตัวแทนของข้อมูล จะเป็นการพิสูจน์เพ่ือแก้ไขจุดอ่อนของการ วิจัยเชิง
คุณภาพ เก่ียวกับความล�ำเอียงทางวิชาการ โดยการให้น้ําหนักมากเกินควรแก่ข้อมูลที่ได้มาจากบุคคลท่ี
นักวิจัยเชื่อถือ ทั้งที่ไม่มีความเป็นตัวแทนพอหากนักวิจัยพบว่า ผู้ให้ข้อมูลท้ังหมดหรือเกือบทั้งหมด ไม่
สามารถเปน็ ตวั แทนของขอ้ มลู ได้ กต็ อ้ งหาทางพยายามเขา้ ถงึ “ตวั แทน” ใหไ้ ด้ สว่ นการประเมนิ คณุ ภาพ
ของข้อมูล ใหใ้ ช้เกณฑ์ตารางเปรยี บเทยี บขอ้ มูลดี และข้อมูลออ่ น 6 ประการ