Page 64 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 64
7-54 การศึกษาชุมชนเพ่ือการวิจยั และพัฒนา
การสัมภาษณ์ได้ดำ� เนินไปอย่างราบรนื่ ท้ังในส่วนผนู้ ำ� ชุมชน และชาวบ้านหลากหลายกลมุ่ ตา่ ง
ก็เล่าถึงผลกระทบ และผลดีของการมีอุตสาหกรรมหนักในหมู่บ้าน แต่กลุ่มท่ีนักวิจัยตั้งข้อสังเกตใน
ภายหลงั วา่ อาจจะเปน็ กลมุ่ ของผไู้ ดร้ บั ผลกระทบอยา่ งแทจ้ รงิ คอื กลมุ่ คนดง้ั เดมิ ทท่ี ำ� สวนพทุ ราซง่ึ อพยพ
ออกไปเป็นจำ� นวนมาก และท่ีเหลืออยู่กเ็ ปลยี่ นอาชพี ไปทำ� อาชีพอน่ื แตม่ ชี าวสวนทีเ่ หลอื อยูส่ ามรายท่ยี งั
คงท�ำสวนพุทราอยู่
ในระยะแรก นักวิจัยไม่ได้รับการต้อนรับมากนักเม่ือเดินทางไปท่ีบ้านชาวสวน สังเกตได้ว่า
ชาวสวนทงั้ สามรายไมไ่ วว้ างใจ และเงยี บมากเมอ่ื ถามถงึ โรงงานอตุ สาหกรรม เพราะในอดตี ในชมุ ชนแหง่ นี้
เคยมคี วามขัดแย้งกันอย่างหนกั เกี่ยวกับการสรา้ งโรงงานนั่นเอง
ในระยะแรกชาวสวนไมย่ อมใหส้ มั ภาษณห์ รอื กลา่ วถงึ โรงงานอตุ สาหกรรมมากนกั จนเวลาผา่ นไป
เกือบปี ชาวสวนยอมพูดคุยในเชิงลึก ข้อมูลที่นักวิจัยได้รับจากชาวสวนพุทราทั้งสามราย ได้ยืนยันถึง
ผลกระทบบางประการท่ี แกนนำ� ชาวบา้ นไม่ไดบ้ อก (เน่ืองจากมผี ลประโยชน์แอบแฝง) และชาวบา้ นบาง
ครอบครัวก็ไม่เล่า (เพราะลูกหลานท�ำงานในโรงงาน) รวมท้ัง สามารถหาแบบแผนการส่ือสารเพื่อท�ำให้
ทัง้ สองฝ่ายด�ำรงอยไู่ ด้ โดยไมข่ ดั แยง้ กันในเวลาต่อมา
ดงั นนั้ หากนกั วจิ ยั ไมแ่ สวงหา “ความเปน็ ตวั แทน” ทแี่ ทจ้ รงิ กเ็ ปน็ ไปไดว้ า่ งานวจิ ยั จะจบลงดว้ ย
ขอ้ มลู ทนี่ กั วจิ ยั คนกอ่ นหนา้ นไ้ี ดเ้ คยเขา้ มาส�ำรวจแลว้ พบวา่ ไมม่ เี กษตรกรในหมบู่ า้ นทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบใดๆ
จากอุตสาหกรรมและโลกาภิวตั น์
การพิสูจน์บทสรุปด้วยวิธีการประเมินคุณภาพของข้อมูล
เปน็ การประเมนิ คณุ ภาพของขอ้ มลู ดว้ ยการใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ เพอ่ื ท�ำใหท้ ราบวา่ ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ า
นน้ั มคี วามนา่ เชอื่ ถอื สามารถพสิ จู นไ์ ด้ เสมอื นหนง่ึ เปน็ การทบทวนวธิ กี ารไดข้ อ้ มลู วา่ เปน็ ไปอยา่ งเชอื่ ถอื ได้
และเปน็ ความจรงิ
การประเมนิ นา้ํ หนกั ของขอ้ มูลว่าเชอื่ ถือได้หรอื ไม่ มเี กณฑค์ รา่ วๆ ดงั น้ี
ตารางที่ 7.1 เกณฑ์การประเมินคุณภาพข้อมูล
ข้อมูลดี ข้อมูลอ่อน
(1) ได้ข้อมูลมาในระยะหลังของการเก็บข้อมูล หลัง ได้ขอ้ มูลมาตง้ั แต่ระยะแรกของการเกบ็ ขอ้ มูลใน
จากคุ้นเคยกบั ผู้ใหข้ อ้ มูลแลว้ ชว่ งเขา้ ภาคสนาม
เปน็ ขอ้ มูลทม่ี ผี เู้ ล่ามาอกี ทอดหนึ่ง
(2) เปน็ ขอ้ มูลท่ีไดเ้ หน็ หรอื ได้ฟงั ด้วยตนเอง เป็นขอ้ มลู จากการรายงาน
(3) เปน็ ขอ้ มลู ของพฤตกิ รรมหรอื เหตกุ ารณท์ สี่ งั เกตได้ นักวิจัยถกู หวาดระแวง
(4) นกั วิจยั ไดร้ บั ความไวว้ างใจ ผู้ให้ข้อมูลถูกจโู่ จมจากผวู้ จิ ยั
(5) ผ้ใู ห้ขอ้ มลู มีความยินดีเตม็ ใจ ผูใ้ หข้ อ้ มลู อย่ตู อ่ หนา้ คนอืน่ ขณะใหข้ ้อมลู
(6) ผู้ใหข้ ้อมลู อย่กู ับผวู้ จิ ัยตามล�ำพังขณะใหข้ ้อมูล
ที่มา: สภุ างค์ จันทวานชิ , 2546.