Page 63 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 63

การวิเคราะหข์ อ้ มลู การวิจัยการสือ่ สารชมุ ชน 7-53

เรื่องที่ 7.3.3
การตรวจสอบข้อมูลของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

       การวิจัยเชงิ คุณภาพมลี กั ษณะพเิ ศษ คอื มีความจ�ำเป็นตอ้ งตรวจสอบขอ้ มูลไปพรอ้ มกบั การเกบ็
รวบรวมขอ้ มลู ดงั ทก่ี ลา่ วไวแ้ ลว้ ดงั นนั้ เนอื้ หาสว่ นหนงึ่ ของการตรวจสอบขอ้ มลู จงึ สอดแทรกอยใู่ นขน้ั ตอน
การวิเคราะห์ข้อมูล โดยเฉพาะอย่างย่ิงข้ันตอนการเตรียมข้อมูล ซึ่งจ�ำเป็นต้องตรวจสอบข้อมูลก่อนท่ีจะ
วเิ คราะห์ และขนั้ ตอนระหวา่ งการเกบ็ ขอ้ มลู ในสนาม แตเ่ มอ่ื มาถงึ ขนั้ ตอนทา้ ยสดุ ยงั มกี ารตรวจสอบขอ้ มลู
อีกหลายแบบท่คี วรจะกล่าวถงึ รวมท้งั สรปุ ในวธิ กี ารตรวจสอบทีก่ ลา่ วมาแล้ว โดยเรียกขนั้ ตอนน้วี า่ “การ
พิสูจน์บทสรปุ ” โดยมรี ายละเอียดดังนี้

เทคนิคการพิสูจน์บทสรุป

       การพสิ จู น์บทสรปุ คอื การยืนยนั ความถกู ตอ้ งของขอ้ สรปุ (สภุ างค์ จนั ทวานชิ , 2546) เพ่อื ให้
แนใ่ จวา่ ขอ้ สรปุ ซ่ึงเปน็ แนวคิดเชงิ นามธรรม มคี วามน่าเช่ือถือ โดยมคี วามสอดคล้องกับ ขอ้ มลู รูปธรรมที่
เป็นปรากฏการณต์ า่ งๆ วธิ กี ารพิสูจน์ ทำ� ไดห้ ลายวิธดี ังนี้

       - การตรวจสอบความเป็นตวั แทนของข้อมูล
       - ตรวจสอบผลข้างเคยี งทอ่ี าจเกิดจากตัวนกั วิจยั
       - ตรวจสอบข้อมลู แบบสามเส้า
       - ประเมินคุณภาพของขอ้ มลู ทไ่ี ด้
       - เปรยี บเทยี บความแตกต่างของขอ้ มลู
       - ลองท�ำวิจยั ซ้าํ อกี แห่งหนึ่ง
       - หาคำ� อธบิ ายอื่นๆ มาใช้อธิบายขอ้ สรปุ อย่างมีความสอดคลอ้ งมากกว่า
       กอ่ นหนา้ น้ี ไดอ้ ธบิ ายวธิ กี ารตรวจสอบแบบสามเสา้ ซง่ึ มสี ามรปู แบบไปแลว้ สำ� หรบั การตรวจสอบ
ข้อมูล ซ่ึงสามารถน�ำมาปรับใช้ตรวจสอบบทสรุปในขั้นตอนสุดท้าย ในท่ีน้ีจะขอยกตัวอย่าง การพิสูจน์
ขอ้ สรุปที่ใช้กนั อย่างแพรห่ ลาย และเป็นวธิ ที จี่ ะช่วยแกไ้ ข “จุดอ่อน” ของการวิจยั การสอื่ สารชุมชนได้ คอื
การตรวจสอบความเปน็ ตวั แทนของขอ้ มูล (representativeness) และการประเมนิ คุณภาพของข้อมูล
       การตรวจสอบความเป็นตัวแทนของข้อมูล จะเป็นการพิสูจน์เพ่ือแก้ไขจุดอ่อนของการ วิจัยเชิง
คุณภาพ เกี่ยวกับ ความล�ำเอียงทางวิชาการ โดยการให้นํ้าหนักมากเกินควรแกข่ อ้ มูลท่ีไดม้ าจากบุคคลท่ี
นักวจิ ยั เชอื่ ถือ ทัง้ ท่ีไม่มีความเปน็ ตวั แทนพอ (สภุ างค์ จนั ทวานชิ , 2546, น. 62)
       หากนักวิจัยพบวา่ ผใู้ ห้ขอ้ มลู ท้งั หมด หรอื เกือบทงั้ หมด ไมส่ ามารถเปน็ ตวั แทนของขอ้ มูลได้ ก็
ต้องหาทางพยายามเข้าถึง “ตัวแทน” ให้ได้ ยกตัวอย่าง ในการวิจัยเรื่อง The Globalised Village:
Grounded Experience, Media and Response in Eastern Thailand (Unaloam Chanrungma-
neekul, 2009) ซงึ่ เปน็ งานวจิ ยั ทศี่ กึ ษาเกยี่ วกบั ผทู้ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากโลกาภวิ ตั น์ และอตุ สาหกรรม และ
มมุ มองต่อการสอื่ สารเรอ่ื งโลกาภวิ ัตน์ในสอื่ กระแสหลกั และส่อื ทางเลือก
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68