Page 25 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 25
ลักษณะทั่วไปของภาษา 1-15
เรื่องที่ 1.2.1
ภาษามีระบบ
ผทู้ ใ่ี ชภ้ าษาโดยทว่ั ไปอาจจะไมต่ ระหนกั ในความจรงิ ทว่ี า่ ภาษามรี ะบบ ทง้ั นเ้ี พราะวา่ เมอ่ื เรา
ใชภ้ าษาตามธรรมดานนั้ เราไมต่ อ้ งมอี ปุ กรณ์ ผพู้ ดู ไมต่ อ้ งใชค้ วามพยายามในการเปลง่ เสยี งตอ่ เนอ่ื ง
กนั ออกมาเปน็ คำ� ประโยค และขอ้ ความ สว่ นผฟู้ งั กไ็ มต่ อ้ งแยกเสยี งทไ่ี ดย้ นิ ออกเปน็ สว่ นยอ่ ยๆ การ
พูดและการฟังเป็นสิ่งที่มนุษย์เราท�ำโดยอัตโนมัติ เม่ือภาษาเป็นสิ่งท่ีทุกคนใช้โดยไม่ต้องคิด
สว่ นมากจงึ มคี วามรสู้ กึ วา่ ภาษาเปน็ ของธรรมดาประกอบดว้ ย คำ� ซง่ึ ผรู้ ไู้ ดร้ วบรวมพมิ พเ์ ปน็ เลม่ เรยี ก
ว่า พจนานุกรม และการเรียนภาษาก็คือการเรียนค�ำต่างๆ บางคนอาจคิดมากขึ้นไปอีกนิดหน่ึงว่า
การเรยี นภาษาเป็นการเรยี นรูว้ ิธกี ารออกเสยี ง และเรียบเรยี งค�ำเปน็ ประโยค แต่ถา้ เราศกึ ษาภาษา
ทใี่ ช้กันอยา่ งละเอียดไมว่ ่าจะเป็นภาษาใดก็ตาม เราจะพบว่าภาษาเปน็ ระบบที่เช่ือมโยงความหมาย
กับเสียง มีความเป็นระเบียบ และในขณะเดียวกันก็มีความซับซ้อนมหัศจรรย์ไม่ย่ิงหย่อนกว่า
ปรากฏการณ์อืน่ ๆ ในธรรมชาติ
องค์ประกอบของภาษาในส่วนท่ีเป็นรูปธรรมที่โสตประสาทสามารถรับได้น้ันคือ เสียง ซ่ึง
ศึกษาได้โดยการสังเกตการเคล่ือนไหวของอวัยวะต่างๆ ที่ใช้ในการออกเสียงและลักษณะของการ
ออกเสยี ง เสยี งทใี่ ชใ้ นภาษาหนง่ึ ๆ นนั้ มจี ำ� นวนจำ� กดั และมลี กั ษณะเฉพาะเปน็ ระบบแตกตา่ งไปจาก
ภาษาอืน่ เชน่ เสยี งทเ่ี ปลง่ ออกมานั้นจะเรยี งกนั อย่างไร อยใู่ นตำ� แหนง่ ใดของพยางค์ มขี ้อกำ� หนด
แตกตา่ งกนั ไปแตล่ ะภาษา เปน็ ตน้ วา่ เสยี งทภี่ าษาไทยใช้ ง แทนในภาษาเขยี น เชน่ งาม และภาษา
อังกฤษมักจะใช้ ng แทน เช่น sing ในภาษาไทยจะเปน็ เสียงต้นหรือเสียงทา้ ยของพยางค์ก็ได้ เชน่
งอม ชะโงก มอง โกง แตใ่ นภาษาองั กฤษ เสียงทม่ี ีลักษณะคลา้ ยกนั น้ี เร่ิมตน้ พยางค์ไม่ได้ จะเปน็
เสียงท่มี าทา้ ยพยางค์เท่านั้น เชน่ bang, kingdom และ strangle
เสียงต่างๆ ทีใ่ ช้ในแตล่ ะภาษานน้ั มจี ำ� นวนไมม่ ากนกั ประมาณ 40-50 เสยี งเทา่ นนั้ แต่
เสียงเหลา่ น้ีประกอบกนั ขนึ้ มาเป็นคำ� นบั จ�ำนวนหมนื่ จ�ำนวนแสน การทีเ่ สยี งจะประกอบกันอยา่ งใด
นั้น แต่ละภาษาจะมีระบบเฉพาะ เช่น ในภาษาไทย ต้นพยางค์อาจมีเสียงพยัญชนะควบกล้ํา
(consonant clusters) ได้ แต่จะมีเพยี งสองเสยี งเท่านนั้ เช่น เพลิน กรอง ส่วนท้ายพยางค์จะไม่มี
เสียงควบกลํ้าเลย ชึ่งผิดกับภาษาอังกฤษที่อาจจะมีเสียงพยัญชนะควบกล้ําต้นพยางค์ได้ 2 หรือ
3 เสียง เช่น blend, right (2 เสียง) street, splash และ screen (3 เสยี ง) ในตำ� แหนง่ ท้ายพยางค์
กอ็ าจมเี สยี งพยญั ชนะควบกลาํ้ ไดถ้ งึ 4 เสยี ง เชน่ sand (2 เสยี ง) sounds (3 เสยี ง) และ twelfths
(4 เสยี ง) เปน็ ต้น