Page 32 - สังคมมนุษย์
P. 32

13-22 สังคมมนุษย์

เร่ืองท่ี 13.2.2
สาเหตุของปัญหาสังคม

       เมอื่ กลา่ วถงึ สาเหตขุ องปญั หาสงั คม กเ็ ปน็ อกี ประเดน็ หนงึ่ ทม่ี นี กั วชิ าการจำ� นวนมาก ไดพ้ ยายาม
อธิบายถึงสาเหตุของปญั หาสงั คม ทงั้ ในเชิงค�ำอธบิ ายและในเชิงทฤษฎี เช่น (www.kku.ac.th)

       1) 	ลักษณะของปัญหาสังคมท่ีสืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change) มี
ดงั นี้

            • 	การเปล่ยี นแปลงจากสงั คมชนบทเปน็ สังคมเมือง
            • 	การเปลย่ี นแปลงจากสงั คมเกษตรกรรมไปเปน็ สังคมอตุ สาหกรรม
            • 	การเพ่มิ ประชากร
            • 	การอพยพ
            • 	การเปลย่ี นแปลงทางด้านเทคโนโลยี
            • 	การขยายตัวของเมอื งอย่างรวดเรว็ ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หา
            • 	การเปลย่ี นบรรทดั ฐานของสงั คม
       2) 	ลกั ษณะของปญั หาสงั คมทส่ี บื เนอ่ื งมาจากความไมเ่ ปน็ ระเบยี บของสงั คม ความไมเ่ ปน็ ระเบยี บ
ของสงั คม หมายถงึ ภาวะทส่ี งั คมหรอื สถาบนั พนื้ ฐานทางสงั คม ไมส่ ามารถจะควบคมุ สมาชกิ ของสงั คมให้
ปฏิบัตติ ามระเบียบ ซงึ่ อาจก่อใหเ้ กิดปญั หาสงั คมท่สี �ำคัญ 5 ประการ กลา่ วคอื
            • 	ความลม้ เหลวของกลุ่มจารตี ประเพณหี รือสถาบันพน้ื ฐาน
            • 	ผลประโยชนข์ องกลุ่มชนขดั กัน
            • 	หนา้ ท่ีตามสถานภาพและบทบาทท่ีขัดแย้งกนั
            • 	ความผดิ พลาดในการอบรมให้เรียนรรู้ ะเบยี บแผนของสงั คม สถาบันหรือหน้าที่
            • 	ความขัดแย้งระหว่างกฎเกณฑ์กับความมุ่งหวัง กฎเกณฑ์ต่างๆ ท่ีสังคมก�ำหนดไว้ ให้
ประชาชนในสังคมปฏบิ ตั ิตาม
       3) 	ลักษณะของปัญหาสังคมท่ีสืบเนื่องมาจากพฤติกรรมท่ีเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดของสังคม
พฤตกิ รรมทเี่ บย่ี งเบนไปจากบรรทดั ฐานของสงั คมเปน็ พฤตกิ รรมทส่ี งั คมไมย่ อมรบั และไมอ่ าจทนได้ สงั คม
เห็นว่าเป็นความรับผิดชอบของสังคมและมีผลกระทบต่อสังคมโดยส่วนร่วม เช่น ผู้เสพติดให้โทษ การท่ี
คนเรามพี ฤตกิ รรมเบย่ี งเบนนนั้ เกดิ จากปจั จยั หลายประการ เชน่ ปจั จยั ทางชวี วทิ ยา (Biological Factor)
ปจั จยั ทางจติ (Mental factor) ปจั จยั ทางสงิ่ แวดลอ้ ม (Environmental Factor) ปจั จยั คา่ นยิ มทางสงั คม
(Social Value) ปจั จัยโครงสรา้ งทางสังคม (social structure factor) เป็นตน้
       ซ่งึ สอดคล้องกับ สุพตั รา สุภาพ (2546, น. 10–14) และพระมหาสนอง ปัจโจปการี (2553, น.
383-385) ที่มีความเห็นสอดคลอ้ งกนั ว่า สาเหตขุ องการเกดิ ปัญหาสังคมว่า อาจพจิ ารณาได้ 3 ทางด้วย
กันคอื
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37