Page 36 - สังคมมนุษย์
P. 36
13-26 สงั คมมนุษย์
ผู้กระทําหรือผู้อื่น การจะพิจารณาว่าการกระทําใดเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบน ขึ้นอยู่กับเวลาหรือสถานท่ีใน
ขณะน้ันๆ พฤติกรรมเบ่ียงเบนจะเป็นการกระทําที่สังคมเป็นผู้กําหนดขึ้นว่าการกระทําอะไรบ้างที่พึง
ปรารถนาและการกระทําอะไรทไ่ี มพ่ งึ ปรารถนา ซง่ึ อาจจะมลี กั ษณะฝา่ ฝนื กฎหมายหรอื ไมก่ ไ็ ด้ แตส่ มาชกิ
ส่วนใหญ่ในสังคมนั้นๆ ไม่ยอมรับ แต่โดยทั่วไปการเกิดพฤติกรรมเบี่ยงเบนมักถูกพิจารณาว่าเป็นการ
กระทําท่ีไม่เหมาะสม สมาชิกส่วนใหญ่ไม่ยอมรับและเป็นปัญหาต่อสังคม ทําให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและ
ทรัพยส์ ินของตัวผู้กระทาํ และบุคคลอ่ืน ซึง่ ผ้กู ระทําสมควรต้องได้รบั การลงโทษ
5. ทฤษฎีตีตรา (Labeling Theory) การตีตรา (labeling) พัฒนามาจากแนวความคิดของ
Frank Tannenbaum ในปี ค.ศ. 1969 และของ Richard Quinney ในปี ค.ศ. 1970 สาระสาํ คัญของ
ทฤษฎีตีตราน้ีมีว่า “แม้พฤติกรรมอาชญากรหรือการกระทําความผิดจะเป็นส่ิงท่ีชั่วร้าย แต่ที่ร้ายย่ิงกว่า
คือ การท่ีสังคมพยายามผลักดันให้ผู้กระทําความผิดถลําลึกลงไปในทางท่ีผิด เป็นภัยแก่สังคมมากยิ่งข้ึน
โดยไม่ยอมเปิดโอกาสให้บุคคลที่ประพฤติผิดกลับตัวเป็นคนดี” ทฤษฎีตีตราหรือตราหน้าชี้ให้เห็นถึง
ปฏกิ ริ ยิ าตอบโตข้ องสงั คมทม่ี ตี อ่ ผกู้ ระทำ� ความผดิ ซง่ึ แสดงออกมาในแงล่ บ ไดแ้ ก่ ถกู รงั เกยี จเหยยี ดหยาม
ไมย่ อมรบั ไมใ่ หอ้ ภยั ไมใ่ หโ้ อกาสแกต้ วั พฤตกิ รรมตา่ งๆ ในทางลบทส่ี งั คมแสดงตอ่ ผกู้ ระทำ� ความผดิ (แม้
ผกู้ ระทำ� ความผดิ จะไดร้ บั โทษไปแลว้ กต็ าม) เหลา่ นเี้ รยี กวา่ สงั คม “ตตี รา” แกผ่ กู้ ระทาํ ความผดิ นกั อาชญา
วทิ ยาตา่ งมคี วามเหน็ วา่ การปฏบิ ตั ิ การตราหนา้ แกผ่ กู้ ระทำ� ความผดิ หรอื ผทู้ เี่ คยกระทาํ ความผดิ ไมเ่ ป็นผล
ดเี ลย มแี ตจ่ ะเกดิ ผลรา้ ยคอื เสมอื นผลกั ผกู้ ระทำ� ความผดิ ใหล้ งเหวทาํ ใหเ้ ขายงิ่ ถลาํ ตวั ไปในทางชว่ั มากยง่ิ ขนึ้
แม้จะกลับตัวเป็นคนดีแล้วสังคมก็ไม่ยอมรับพวกเขาจึงไม่มีทางเลือกไม่มีโอกาสอีกต่อไป ซึ่งพฤติการณ์
ตราหนา้ นเ้ี ปน็ สาเหตสุ าํ คญั ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การกระทาํ ความผดิ ซำ้� ซาก และยงั ทาํ ใหผ้ กู้ ระทาํ ผดิ กอ่ อาชญากรรม
ท่ีมคี วามรุนแรงทวขี ้ึนเรื่อยๆ กลายเป็นปญั หาสงั คม
กิจกรรม 13.2.2
จงอธบิ ายสาเหตุของปัญหาสงั คม
แนวตอบกิจกรรม 13.2.2
โดยภาพรวมสาเหตุของปัญหาสงั คม เกิดจาก
1. การเปล่ียนแปลงทางสงั คม (Social Change)
2. การเสียระเบียบหรอื ความไมเ่ ปน็ ระเบยี บในสังคม (Social Disorganization)
3. บคุ ลกิ ภาพ (Personality) หรือพฤตกิ รรมทเ่ี กิดจากการเรียนรู้