Page 33 - สังคมมนุษย์
P. 33

การเปล่ยี นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมกับปัญหาสงั คม 13-23
       1. 	การเปล่ียนแปลงทางสังคม (Social Change)
       2. 	การเสียระเบียบหรือความไมเ่ ปน็ ระเบียบในสังคม (Social Disorganization)
       3. 	บคุ ลกิ ภาพ (Personality) หรอื พฤติกรรมทเ่ี กิดจากการเรียนรู้
       1. 	การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change) มคี วามหมายเฉพาะการเปลี่ยนแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ
ในสังคมที่มีการจดั ระเบยี บการเปลยี่ นแปลงของโครงสรา้ งทง้ั หมด รวมทงั้ มีผลต่อกลุ่มคนและบคุ คล และ
ถ้าประชาชนส่วนใหญ่ไม่สามารถเปล่ียนแปลง หรือปรับตัวได้ภายในเวลาที่ต้องการ ก็จะเกิดปัญหาการ
ปรบั ตวั เขา้ กับสังคมไม่ได้ และจากการปรับตวั ไม่ไดน้ ี้เองท�ำให้เกิดปญั หาสังคม เช่น

            1.1 	การเปลี่ยนเป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรม เรม่ิ ขึน้ ตอนปลายศตวรรษท่ี 18 หรอื ศตวรรษ
ท่ี 19 ซงึ่ อาจเรยี กไดว้ า่ เปน็ ยคุ เครอื่ งจกั ร โดยในระยะแรกจะมลี กั ษณะเปลย่ี นจากการใชเ้ ครอื่ งมอื แบบงา่ ยๆ
มาใช้เครื่องจักรแทน เคร่ืองจักรกล จะช่วยในการเพ่ิมผลผลิตและชนิดของสินค้าที่ออกจ�ำหน่าย การ
เปลี่ยนแปลงนีม้ ลี กั ษณะสำ� คัญ 2 ประการคือ

                1.1.1 	การเปล่ียนกระบวนการและวิธีการในการผลิต เน่ืองจากระบบโรงงานน้ีไม่ต้อง
อาศัยคนงานเปน็ จ�ำนวนมาก เพราะมีเพยี งผคู้ วบคมุ เครือ่ งจกั รเท่านั้น คนงานไมไ่ ด้เป็นผทู้ �ำสงิ่ ของนั้นๆ
เองทั้งหมด เพียงแต่ท�ำเป็นบางส่วน คนงานจึงลดความส�ำคัญลงไปเพราะเคร่ืองจักรเป็นปัจจัยส�ำคัญใน
การผลติ ปญั หาทีต่ ามมาคอื สินคา้ ผลิตมากเกนิ ไป ทำ� ให้คนนับพนั ตอ้ งว่างงาน

                1.1.2 	การเปล่ียนแปลงเรื่องความเป็นเจ้าของและการควบคุมโดยรวมธุรกิจเข้าเป็นรูป
บริษัท การรวมตัวเช่นน้ีเป็นการท�ำลายความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล คนงานมีสภาพไม่ผิดกับเคร่ืองจักร
เจ้าของบริษัทสนใจแต่ความม่ันคงในการลงทุน และผลประโยชน์ที่จะได้รับ การรวมตัวของอุตสาหกรรม
และธุรกิจเข้าเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน กลับกลายเป็นการท�ำลายความเจริญก้าวหน้าและการอยู่รอดของ
ธุรกิจย่อยๆ ท�ำให้เกิดปัญหาขัดแย้งระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ได้มาซึ่งความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจและความ
มน่ั คง

            1.2 	การอพยพเคล่ือนย้าย ปญั หาที่ตามมาคอื จ�ำนวนคนท่อี พยพจากชนบทเขา้ มาทำ� งาน
ในเมือง ตลอดจนนักธุรกิจท่ีลงทุนในกิจการอุตสาหกรรมมีมากขึ้น ส่วนทางด้านเกษตรกรรมก็เร่ิมใช้
เครื่องจักรแทนแรงงานคน พวกชาวนาหรือคนงานจึงต้องอพยพเข้ามาท�ำงานในโรงงานแทนจากการ
เปล่ียนแปลงทางด้านอุตสาหกรรม ตลอดจนเมืองใหญ่ข้ึน ท�ำให้คนอพยพมากข้ึนโดยจะอพยพโยกย้าย
ถน่ิ ฐานจากเมอื งหนงึ่ ไปยงั อกี เมอื งหนงึ่ หรอื จากตำ� บลหนงึ่ ไปยงั อกี ตำ� บลหนง่ึ และสง่ิ ทชี่ ว่ ยใหก้ ารอพยพ
ง่ายและรวดเร็วขนึ้ ก็คอื การคมนาคมและการขนสง่ ทส่ี ะดวกสบาย เชน่ ใชร้ ถไฟ รถยนต์ เป็นต้น

            1.3 	เมืองและสังคมอุตสาหกรรมสมัยใหม่ เมืองใหญ่ๆ ในสมัยปัจจุบันเกิดจากความ
ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เช่น มีการวางท่อสายโทรเลข โทรศัพท์ สายไฟฟ้า ท่อระบายน�้ำ ท่อประปา
เปน็ ตน้ สง่ิ เหลา่ นมี้ ขี น้ึ เพอื่ สนองความตอ้ งการและความสะดวกสบายแกช่ วี ติ ประจำ� วนั ของคน แตใ่ นขณะ
เดยี วกันเมอื งมกี ารแขง่ ขันมาก คา่ ครองชีพสูง ทำ� ใหห้ ลายกล่มุ ปรบั ตัวไมไ่ ด้

            1.4 	ค่านิยม คือ สง่ิ ทีก่ ลมุ่ สังคมหนึ่งเห็นวา่ เป็นสิ่งทม่ี ีค่าควรแกก่ ารกระท�ำ นา่ กระท�ำหรือ
เหน็ วา่ ถูกตอ้ ง ซึ่งคา่ นิยมในปจั จุบันได้มกี ารย้�ำผดิ ๆ กนั ในหลายเรือ่ ง เชน่ ยำ�้ เรอื่ งเงิน อำ� นาจ ตำ� แหน่ง
วัตถุ มากกว่าเรอ่ื งอ่นื ๆ บุคคลจึงถกู บบี ใหพ้ ยายามไขวค่ ว้าในสิง่ ทีต่ นหวงั บางคนทำ� ดีเท่าไรกไ็ ม่ได้ดี ก็
ออกมาในรูปทำ� ชั่ว เชน่ เปน็ พอ่ เล้า แม่เล้า เมยี เชา่ โสเภณี ทำ� สนิ คา้ ปลอม เปน็ ต้น
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38