Page 38 - สังคมมนุษย์
P. 38
13-28 สงั คมมนษุ ย์
ปัญหาความยัดแย้งทางการเมือง ความขัดแย้งทางการเมืองทเี่ ป็นปัญหาสังคมอยา่ งหนงึ่ นั้นอาจ
จะมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น ผลประโยชนข์ ดั กัน ความคิดเหน็ ไมต่ รงกัน การขาดอุดมคตทิ างการ
เมืองท่ีแน่นอน เป็นต้น ในการแก้ปัญหาน้ี ตามทัศนะของพุทธศาสนาแล้ว นักการเมืองจะต้องมีธรรมะ
ส�ำหรับนักบริหาร นักปกครองซ่ึงพระพุทธองค์ได้แสดงว่า เป็นคุณสมบัติของนักปกครองหรือผู้บริหาร
ปรากฏในพระคัมภีร์ศาสนาหลายแห่งด้วยกัน แต่ในท่ีนี้จะขอน�ำมากล่าวเฉพาะที่ท่านได้แสดงไว้ใน
อรรถกถาอัฏฐกนิบาตอังคุตตรนิกาย มีใจความว่าผู้ปกครองหรือนักบริหารนั้นจะต้องท�ำนุบ�ำรุงประชา
ราษฏรด์ ว้ ยหลักธรรมทเ่ี รียกวา่ ราชสงั คหวัตถุ 5 ประการ คือ
1. สัสสเมธะ ฉลาดสามารถในการบ�ำรุงเกษตรกรรมและกสิกรรม เป็นต้น อนั เป็นธญั ญาหารให้
เกดิ ผลผลติ ที่ดี มีการสง่ เสรมิ การเกษตรและกสิกรรมใหอ้ ดุ มสมบรู ณ์ อันจะเป็นประโยชนพ์ ้นื ฐานท่สี �ำคัญ
ยิ่งในการพฒั นาประเทศทางด้านเศรษฐกจิ
2. ปรุ สิ เมธะ ฉลาดสามารถในการบำ� รงุ คน สง่ เสรมิ คดั เลอื กคนมาทำ� งานใหเ้ หมาะสมกบั ความรู้
ความสามารถของเขาและการงานท่จี ะทำ� นนั้ ๆ พร้อมทงั้ จดั สวสั ดกิ ารให้ดี เป็นตน้
3. สัมมาปาสะ ผกู ประสานสงเคราะหป์ ระชาชนพลเมอื งบว่ งคลอ้ งใจคน คอื การดแู ลสขุ ทกุ ขข์ อง
ประชาชน สง่ เสรมิ อาชพี เช่น จัดทุนให้คนยากจนยืมไปสร้างตนในทางพาณชิ ยกรรมหรอื ดำ� เนนิ กจิ กรรม
ต่างๆ ไม่ใหเ้ กิดความเล่ือมล�้ำหรือชอ่ งวา่ งจนแตกแยกกัน ซึ่งเปน็ การท�ำให้จิตใจของประชาชนเล่ือมใสใน
ผปู้ กครอง
4. วาชเปยยะ พดู จาดว้ ยถอ้ ยคำ� ไพเราะออ่ นหวานดดู ดม่ื ใจ รจู้ กั พดู รจู้ กั ชแ้ี จงแนะนำ� รจู้ กั ทกั ทาย
ถามไถ่ทุกข์สุขของประชาชนทุกชั้น ด้วยอัธยาศัยไมตรีที่ดี ด้วยถ้อยค�ำที่ประกอบด้วยเหตุผล ที่เป็น
หลักฐานมีประโยชน์ เป็นทางแห่งการสร้างสรรค์แก้ไขปัญหาเสริมความสามัคคีท�ำให้เกิดความเข้าใจดี
ความเชื่อถอื และความนิยมนบั ถือ
5. นิรัคคฬะ บรหิ ารประเทศชาตใิ หอ้ ยเู่ ยน็ เปน็ สขุ โดยปอ้ งกนั และบำ� ราบโจรผรู้ า้ ย ใหป้ ระชาชน
นอนตาหลับ โดยยึดหลักการท่ีว่า “ความสุขของประชาชนคือยอดปรารถนาของตน” และในทีฆนิกาย
ปาฏิกวรรคก็ไดแ้ สดงไวว้ า่ ผบู้ รหิ ารหรอื นกั ปกครองท่ีดนี ้ัน เมือ่ ปฏิบัตหิ นา้ ท่ี พึงเวน้ ความลำ� เอยี ง (อคต)ิ
หรือความประพฤตทิ คี่ ลาดเคลอื่ นจากธรรม 4 ประการ
1) ฉันทาคติ ล�ำเอยี งเพราะชอบ
2) โทสาคติ ล�ำเอียงเพราะชงั
3) โมหาคติ ล�ำเอยี งเพราะหลงหรือเขลา
4) ภยาคติ ล�ำเอียงเพราะขลาดกลวั
นอกจากนี้ มคี วามประพฤตดิ เี ปน็ แบบฉบบั ในการด�ำรงชวี ติ ของนกั ปกครองเพราะการปกครองที่
ดีคือ การให้แบบอย่างที่ดี ความตรงความคิดของนักปกครองมีอิทธิพลต่อความประพฤติของประชาชน
ความซ่ือตรงของประชาชน ขึ้นอยู่กับความซื่อตรงของนักปกครอง การแก้ความคดของส่วนใหญ่จึงต้อง
เร่ิมมาจากฝ่ายปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 ประเภทน้ี พระพุทธเจ้าตรัสยกตัวอย่างไว้ใน
โพธริ าชชาดก ขุททกนกิ ายว่า