Page 39 - สังคมมนุษย์
P. 39

การเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมกบั ปัญหาสงั คม 13-29
       “เมื่อฝูงโคก�ำลังข้ามแม่น้�ำ ถ้าโคจ่าฝูงไปคด โคนอกน้ันก็คดตาม ในหมู่มนุษย์ก็เช่นเดียวกันถ้า
ผู้ได้รับสมมติให้เป็นหัวหน้าเป็นผู้ปกครองไม่เป็นธรรม คนนอกนั้นก็ประพฤติไม่เป็นธรรม ดังน้ันเม่ือ
ผู้ปกครองประพฤติไม่เปน็ ธรรม ชาวเมอื งก็พลอยทกุ ข์กันไปทว่ั โดยนัยตรงกนั ขา้ ม เมื่อผ้ปู กครองทรงไว้
ซ่งึ ธรรม ชาวเมืองก็เป็นสุขกันไปทัว่ ”

พุทธศาสนากับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ

       จุดประสงค์ของเศรษฐกิจนั้น ก็เพื่อบ�ำบัดหรือสนองความต้องการของมนุษย์ให้เกิดความมั่งค่ัง
สมบรู ณด์ ว้ ยโภคทรพั ย์ หรอื จะกล่าวอยา่ งงา่ ยๆ กเ็ พอ่ื ให้ประชาชนมีการอย่ดู กี นิ ดี หรอื มมี าตรฐานในการ
ครองชพี สงู ขน้ึ ในทางเศรษฐกจิ ถอื วา่ ยง่ิ มกี ารอยดู่ กี นิ ดดี ว้ ยเครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภคมากเพยี งใด ชวี ติ ยอ่ มมี
ความสขุ และสะดวกสบายมากเพียงนน้ั และเชื่อวา่ เมอ่ื มีสินค้า และมีการบริการท่ีผลติ ไดใ้ ห้แก่ประชาชน
โดยท่ัวถงึ มากย่ิงขึ้น ประชาชนก็จะมคี วามสขุ และความเป็นอย่ดู ขี ึน้ ความสุขดงั กลา่ ว จึงกลา่ วไดว้ า่ เปน็
ความสขุ ในดา้ นวตั ถุ จะกลา่ ววา่ ความมงุ่ หมายของเศรษฐกจิ กเ็ พอ่ื จะสรา้ งความสขุ ใจดา้ นวตั ถใุ หแ้ กม่ นษุ ย์
น่ันเอง ก็ย่อมเป็นการถูกต้อง พุทธศาสนาก็มีความมุ่งหมายท่ีจะสร้างความสุขให้แก่มนุษย์เช่นเดียวกัน
แต่พุทธศาสนาแบง่ ความสุขออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ คอื โลกิยสขุ และโลกตุ ตรสขุ โลกิยสขุ เปน็ ความ
สุขของปุถุชนหรือฆราวาสผู้ครองเรือน เป็นความสุขท่ีพัวพันกับทรัพย์สมบัติและวัตถุกามต่างๆ เป็น
ประเภทอามสิ สขุ คอื สขุ ทเี่ จอื ดว้ ยอามสิ สง่ิ ของ ความสขุ ทางเศรษฐกจิ กจ็ ดั อยใู่ นความสขุ ประเภทนี้ เพราะ
เป็นความสุขของการแสวงหาและได้สง่ิ ของมาบ�ำบดั ความตอ้ งการ สว่ นโลกุตตรสขุ เปน็ ความสุขของผู้สน้ิ
กเิ ลสอาสวะ และส�ำเรจ็ อรหตั ผลแล้ว เป็นความสขุ ทีเ่ ทีย่ งแท้ ยง่ั ยนื ไม่พัวพันอยู่กบั วัตถกุ ามหรืออารมณ์
กามใดๆ เปน็ ประเภทนริ ามสิ สขุ หรอื สขุ ไมเ่ จอื ดว้ ยอามสิ ซง่ึ เปน็ ความสขุ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ไดจ้ ากการบรรเทาความ
ต้องการหรือทะยานอยากเสียได้ เป็นความสุขท่ีเกิดข้ึนจากการให้เสียสละ จะกล่าวว่าเป็นหลักเศรษฐกิจ
ชัน้ สูงในทางพุทธศาสนาก็ได้

       หลักของการพออยู่พอกินในพระพุทธศาสนา
       ทิฏฐธัมมิกตั ถะ ประโยชนป์ จั จุบนั หรือหลักสรา้ งความส�ำเรจ็ ทนั ตาเห็น บางทีท่านเรยี กวา่ หวั ใจ
เศรษฐี อันเป็นคำ� สอนให้ตั้งเน้อื ตงั้ ตัวได้ในทางเศรษฐกจิ 4 ประการ คอื

            1)	ตอ้ งมีความหม่ัน คอื มีความขยนั หมนั่ เพียรในการปฏิบัติหน้าทีก่ ารงาน ประกอบอาชพี
อนั สุจรติ รูจ้ กั ใชป้ ัญญาความสามารถจัดการด�ำเนินการไปให้ได้ผลดี ซง่ึ เป็นทางใหไ้ ดท้ รัพย์ ข้อนี้ตรงกบั
หลักเศรษฐกจิ ข้อแรกคือ Production หลกั ผลติ กรรม

            2)		ตอ้ งการรกั ษา คอื ตอ้ งรจู้ กั เกบ็ คมุ้ ครองทรพั ย์ หนา้ ทก่ี ารงานและผลงานทต่ี นไดม้ าหรอื
ได้ท�ำไว้ด้วยความขยันหมั่นเพียรนั้น ไม่ให้เป็นอันตรายหรือเส่ือมเสียโดยเฉพาะ ถ้าเป็นทรัพย์ ก็ต้องย่ิง
รจู้ กั เก็บออม

            3)		ต้องเลือกคบคนดีเป็นเพ่ือน คือ เลือกคบแต่สุหทมิตร ได้แก่ มิตรแท้ เพ่ือนจริง ท่ีมี
อุปการคุณ สมานสุขทุกข์ แนะน�ำประโยชน์ให้และมีความรักใคร่จริงใจ ถ้าด�ำเนินธุรกิจเป็นบริษัทหรือ
สหกรณ์ กจ็ �ำเป็นตอ้ งเลือกสมาชกิ ทีด่ ี ตรงกับหลกั Cooperation หลกั สหกรณ์
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44