Page 35 - สังคมมนุษย์
P. 35

การเปลยี่ นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรมกบั ปัญหาสังคม 13-25
ช้าๆ จนเกอื บจะไมร่ ูส้ ึกตวั เป็นกระบวนการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม แต่บางครง้ั ก็มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเรว็ กะทันหนั ไดเ้ หมือนกนั เชน่ การปฏวิ ตั ิซ่ึงเป็นปรากฏการณ์ทไี่ มไ่ ด้เปน็ ไปตามปกติ

       บคุ ลกิ ภาพในสงั คมมที ้งั ทสี่ ังคมยอมรับและไมย่ อมรบั ท่สี ังคมยอมรับ เชน่ เคารพผู้ใหญ่ มีความ
ซือ่ สัตย์ ขยนั ขันแขง็ เป็นตน้ ส่วนที่สงั คมไมย่ อมรบั เชน่ ลกั ขโมย เสพสุรา เสพยาเสพตดิ ฆ่าคนตาย
เปน็ ตน้ ซึง่ สังคมจะต้องหาทางแก้ไขปรบั ปรงุ ให้ดขี ้นึ การท่ีบุคคลมีบคุ ลิกภาพผดิ แผกไปจากกฎเกณฑ์ท่ี
สงั คมก�ำหนด อาจจะเกดิ จากความต้องการทางอารมณ์บางอย่าง เช่น เดก็ ท่มี าจากบ้านแตกแยก มีจติ ใจ
ไม่มัน่ คง ต้องการความรัก ตอ้ งการความอบอนุ่ บางคร้งั จงึ อาจจะหาทางชดเชยดว้ ยการหาความรักจาก
นอกบ้าน โดยเฉพาะถา้ เพื่อนไมด่ ี เพื่อนก็จะพาไปในทางเส่อื มเสยี เช่น ลักขโมย เสพยาเสพตดิ เปน็ ต้น
ซง่ึ เป็นหน้าที่ของสังคมทจ่ี ะตอ้ งหาทางศกึ ษาและทางปอ้ งกันแก้ไขต่อไป

       ในสว่ นของการอธบิ ายปญั หาสงั คม เชงิ ทฤษฎี มที ฤษฎที อี่ ธบิ ายปญั หาสงั คมอยหู่ ลากหลายทฤษฎี
แตใ่ นท่นี ้ี ขอนำ� เสนอทฤษฎีทีส่ ำ� คญั ๆ ดงั น้ี (ศิริรตั น์ แอดสกุล, 2555, น. 288-290)

       1.	 ทฤษฎพี ยาธทิ างสงั คม (Social Pathology Theory)
       2. 	ทฤษฎีการเสยี ระเบยี บทางสังคม (Social Disorganization Theory)
       3. 	ทฤษฎีความขดั แย้งทางค่านยิ ม (Value Conflict Theory)
       4. 	ทฤษฎีพฤตกิ รรมเบ่ยี งเบน (Deviant Behavior Theory)
       5. 	ทฤษฎตี ตี รา (Labeling Theory)
       1. 	ทฤษฎีพยาธิทางสังคม (Social Pathology Theory) ทฤษฎีน้ีอธิบายการเกิดปัญหาสังคม
โดยอาศัยทฤษฎีทางสังคมวิทยาหลายๆ ทฤษฎีมักจะเปรียบเทียบว่า สังคมเหมือนร่างกายมนุษย์ ส่วน
ทฤษฎีพยาธิทางสังคมน้ัน เป็นการอธิบายปัญหาสังคม โดยมองว่าปัญหาสังคม เหมือนกับเช้ือโรคซึ่ง
ส่งผลร้ายต่อสังคม ดังนั้น หากมองว่าสังคมเปรียบเสมือนร่างกายของส่ิงมีชีวิต บางครั้งพบว่า ร่างกาย
หรือส่วนใดส่วนหน่ึงของสิ่งมีชีวิตอาจจะมีการเจ็บป่วยได้ สังคมบางครั้งก็อาจจะมีการเจ็บป่วยได้เช่นกัน
อาการป่วยของสงั คม เรียกวา่ พยาธทิ างสังคม ซ่งึ จำ� เปน็ ตอ้ งได้รบั การเยียวยาหรอื แกไ้ ขตอ่ ไป
       2.	 ทฤษฎีการเสียระเบียบทางสังคม (Social Disorganization Theory) ทฤษฎีน้ีอธิบายการ
เกิดปัญหาสังคมว่า ปัญหาสังคมเกิดจากการท่ีสังคมไม่สามารถท�ำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของสังคมได้ ไม่
สามารถทำ� ให้สมาชกิ เหล่านั้นปฏบิ ัติตามบรรทัดฐานของสงั คมได้ นำ� ไปสู่ปัญหาสังคมต่างๆ เชน่ ปัญหา
อาชญากรรม ปัญหายาเสพติด ปัญหาทจุ ริตคอรัปชนั่
       3.	 ทฤษฎีความขัดแย้งทางค่านิยม (Value Conflict Theory) ทฤษฎีน้ีอธิบายการเกิดปัญหา
สังคมว่า ปัญหาสังคมเกิดจากการขัดกันในเร่ืองของคุณค่าหรือค่านิยม ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของสังคม
กล่าวคือ ปัญหาสังคมเกิดข้ึนเมื่อกลุ่มคนบางกลุ่มหรือหลายกลุ่มในสังคมพยายามเปล่ียนแปลงแก้ไข
สถานการณ์ตา่ งๆ ในสงั คม แตก่ ารพยายามดังกล่าวไม่สอดคล้องกบั อกี กลุ่มหน่งึ ยกตวั อย่างเช่น ปญั หา
ความขัดแย้งระหวา่ งนายจา้ งกับลูกจา้ ง เร่ืองคา่ แรงขั้นตำ่�
       4.	 ทฤษฎีพฤติกรรมเบ่ียงเบน (Deviant Behavior Theory) ทฤษฎีน้ีอธิบายปัญหาสังคมว่า
เกดิ จากคนในสังคมไดม้ พี ฤติกรรมที่เบย่ี งเบนไป ซึง่ พฤติกรรมเบีย่ งเบน หมายถึง การกระทาํ ทไี่ ม่เป็นไป
ตามบรรทดั ฐาน ของสงั คม ซ่ึงอาจเป็นการกระทาํ ท่รี บกวนความสงบสขุ ของสงั คมหรอื เปน็ อันตรายตอ่ ตวั
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40