Page 34 - สังคมมนุษย์
P. 34
13-24 สงั คมมนุษย์
1.5 ปัญหาที่เกิดจากวิทยาการ ในปัจจุบันนี้วิทยาศาสตร์และวิทยาการมีอิทธิพลส�ำคัญท่ี
กระทบกระเทือนต่อชีวิตของบุคคลและรูปการปกครอง รวมตลอดถึงกระบวนการทางการเมือง ผลจาก
ความก้าวหน้าท้ัง 2 ด้านน้ัน ได้ท�ำให้สังคมเปล่ียนไป โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็นส่วนหนึ่งท่ีก�ำหนดความ
สมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลกบั บคุ คล และระหวา่ งบคุ คลกบั รฐั บาล เชน่ ท�ำใหท้ กุ คนมภี าระหนา้ ทแี่ ละตอ้ งพง่ึ พา
อาศัยกันมากข้ึน ท�ำให้รัฐบาลมีบทบาทและความรับผิดชอบเพ่ิมขึ้นในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่กระทบ
กระเทือนประชาชน และปญั หาเหล่าน้นั ก็มาจากความกา้ วหน้าของวิทยาการเสียเป็นสว่ นใหญ่
วทิ ยาการกอ่ ใหเ้ กดิ สถานการณใ์ หมๆ่ ในโลก เชน่ มกี ารเพมิ่ กำ� ลงั อาวธุ การสะสม และการ
ใช้จ่ายในทางทหารและกิจกรรมในด้านการช่วยเหลือต่างประเทศ ซึ่งประเทศใหญ่มักมีบทบาทอย่าง
มากมายในกิจการน้ี ท�ำให้มนุษย์มีความเจริญในด้านการศึกษา ความเข้าใจ และความส�ำนึกต่างๆ
ประชาชนก็เร่ิมตนื่ ตวั ตอ้ งการมีสว่ นในการปกครอง การได้บริการตา่ งๆ จากรัฐ และตอ้ งการใหเ้ กดิ ความ
ยุตธิ รรมในด้านการแบ่งปันรายได้ รวมท้ังใหม้ กี ารยอมรับในเรอ่ื งศักดศิ์ รีของบุคคล
2. การเสยี ระเบียบหรอื ความไม่เป็นระเบยี บในสงั คม (Social Disorganization) สงั คมทไ่ี มเ่ ปน็
ระเบียบ คือ สังคมที่ไม่สามารถจะควบคุมสมาชิกของสังคมให้ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนที่วางไว้ โดย
ทวั่ ไปทกุ สงั คมมกั จะวางกฎเกณฑ์ หรอื บรรทดั ฐานบางอยา่ งใหส้ มาชกิ ทม่ี าอยรู่ ว่ มกนั ไดใ้ ชเ้ ปน็ แนวทางใน
การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมรี ะเบยี บ ความเปน็ ระเบยี บนไ้ี มใ่ ชเ่ กดิ จากการใชอ้ ำ� นาจ แตเ่ ปน็ การยอมรบั กฎเกณฑ์
รว่ มกนั อยา่ งไรก็ตาม ความไมเ่ ปน็ ระเบยี บในสงั คมมสี าเหตสุ �ำคัญ 2 ประการ คอื
2.1 ความล้มเหลวของกลุ่มจารีตประเพณี ปกติแต่ละบุคคลจะรักษาค่านิยมและความมุ่ง
หวัง ตลอดจนกฎเกณฑ์ต่างๆ ของสังคมท่ตี นเป็นสมาชิก วิธกี ารถา่ ยทอดกอ็ าจออกมาในรูปบงั คบั ใหท้ กุ
คนกระทำ� ตาม ซงึ่ วธิ นี จ้ี ะไดผ้ ลตอ่ เมอ่ื สถาบนั ถา่ ยทอดความรู้ เชน่ ครอบครวั โรงเรยี น รฐั บาลมเี สถยี รภาพ
แตถ่ า้ ขาดหลกั สำ� คญั ในการทำ� งานรว่ มกนั หรอื ไมป่ ระสานกนั จะทำ� ใหส้ ถาบนั ไมอ่ าจจะถา่ ยทอดและรกั ษา
คา่ นยิ มตา่ งๆ ของสงั คมได้ เพราะขาดความยดึ มน่ั หรอื ขาดความศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ซง่ึ ความไมเ่ ปน็ ระเบยี บในสงั คม
นีเ้ ป็นมลู ฐานเบือ้ งต้นท่กี อ่ ให้เกิดปญั หาสงั คมต่างๆ ได้ เช่น เด็กกระทำ� ผิดอาชญากรรม เปน็ ต้น
2.2 ความขัดแย้งระหว่างกฎเกณฑ์กับความมุ่งหวัง เมื่อกลมุ่ จารตี ประเพณีในสังคมสลาย
ลง หรอื ไมส่ ามารถรกั ษาหนา้ ทข่ี องตนได้ สมาชกิ ของกลมุ่ จะขาดความศรทั ธา ดงั นน้ั คา่ นยิ มของกลมุ่ อาจ
จะมีผลในทางตรงกันข้าม เพราะไม่มีอะไรเป็นเครื่องยึดเหน่ียวให้กลุ่มมีความเข้าใจหรือปฏิบัติสอดคล้อง
ในแนวเดียวกัน
3. บุคลิกภาพ (Personality) หรือพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ บคุ คลท่เี กดิ มาแตล่ ะคนจะมี
ลักษณะท่ีเป็นของตัวเองโดยเฉพาะ ไม่ซ้�ำแบบใคร เพราะจะไม่มีใครเหมือนกับใครในทุกด้าน และ
บุคลิกภาพพัฒนาไปพร้อมกับการพัฒนาทางกาย อารมณ์ และด้านอ่ืนๆ ของจิตใจ และแม้บุคคลจะมี
ลกั ษณะทางกายเหมอื นกัน การเรียนรู้กไ็ ม่เหมือนกนั แม้จะมสี ภาพแวดลอ้ มอย่างเดยี วกนั
พฤตกิ รรมของแตล่ ะบคุ คล เปน็ ผลของกรรมพนั ธแ์ุ ละสงิ่ แวดลอ้ มทห่ี ลอ่ หลอมบคุ คลนนั้ โดยแตล่ ะ
คนไมอ่ าจจะเลอื กสงิ่ แวดลอ้ มของตนได้ เชน่ บคุ ลกิ ภาพของเดก็ ขนึ้ อยกู่ บั สงิ่ แวดลอ้ มในถน่ิ ทเ่ี กดิ เปน็ สำ� คญั
บคุ คลอนื่ ๆ ในสงั คมเปน็ ผกู้ ำ� หนดใหเ้ ดก็ แสดงบทบาทตามทบี่ คุ คลเหลา่ นน้ั ปฏบิ ตั ิ การถา่ ยทอดมรดกทาง
สงั คมกเ็ หมอื นกบั การกำ� กบั บทใหค้ นแสดงบนเวที การเปลย่ี นแปลงในบทบาทหรอื วฒั นธรรมกเ็ ปน็ ไปอยา่ ง