Page 51 - สังคมมนุษย์
P. 51
การเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและวัฒนธรรมกับปัญหาสังคม 13-41
ปัจเจกบุคคลหรือบริษัท ท่ีอยู่คนละประเทศ โดยทั่วไปแล้ว การค้าระหว่างประเทศมักถูกจ�ำกัดด้วยภาษี
ค่าธรรมเนียมในการน�ำเข้าและส่งออกสินค้า และกฎเกณฑ์ท่ีไม่เก่ียวกับภาษีอากรในการน�ำเข้า ในทาง
ทฤษฎีแล้วการค้าเสรีนั้นต้องการยกเลิกข้อจ�ำกัดเหล่านี้ทั้งหมด อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริงแล้ว ใน
ข้อตกลงทางการคา้ ท่เี รียกว่า “การคา้ เสร”ี น้นั อาจสร้างข้อกีดกนั บางอยา่ งขน้ึ มาก็ได้
5. ลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร (Copyright) ปญั หาการละเมดิ ลขิ สทิ ธแ์ิ ละสทิ ธบิ ตั ร เปน็ ประเดน็ ทเ่ี กดิ
ขึ้นในท่ัวทกุ มมุ โลก โดยเฉพาะกบั ประเทศทีเ่ ป็นผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงาน โดยสหประชาชาติ ไดจ้ ดั ตง้ั องค์การ
ทรพั ยส์ ินทางปญั ญาโลก หรอื World Intellectual Property Organization: WIPO) ในปี ค.ศ. 1967
(พ.ศ. 2510) “เพอ่ื สง่ เสรมิ กจิ การทางสรา้ งสรรค์ เพอ่ื สนบั สนนุ การพทิ กั ษท์ รพั ยส์ นิ ทางปญั ญาไปทวั่ โลก”
(วกิ ีพเี ดีย)
ในปจั จบุ นั องคก์ ารมสี มาชกิ 184 ประเทศ บรหิ ารสนธสิ ญั ญาสากล 24 ฉบบั โดยมสี ำ� นกั งานกลาง
อยทู่ กี่ รุงเจนีวาในสวติ เซอร์แลนด์
ประเทศไทยเองก็เป็นประเทศท่ีมีปัญหาการกระท�ำละเมิดลิขสิทธ์ิและถูกเรียกร้องให้มีการแก้ไข
การกระทำ� ละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ โดยเฉพาะปญั หาการละเมดิ ลขิ สทิ ธโิ์ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ ประเทศตดิ อนั ดบั
ต้นๆ ของโลกในการละเมดิ ลขิ สิทธโ์ิ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยประเทศไทยอยใู่ นอันดับ 4 ของประเทศใน
ภูมิภาคเอเชยี ท่ีละเมิดลขิ สิทธิ์ซอฟตแ์ วร์ (วิกพิ เี ดยี )
ปัญหาการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญามีการขยายตัวเพ่ิมมากข้ึน และส่งผลกระทบต่อการค้า
ระหวา่ งประเทศเปน็ อยา่ งมาก เนอ่ื งจากประเทศคคู่ า้ ทสี่ ำ� คญั ของประเทศไทย เชน่ สหรฐั อเมรกิ า สหภาพ
ยโุ รป มกั หยบิ ยกการละเมดิ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาในประเทศไทยมาเปน็ ประเดน็ ในการใชเ้ ปน็ มาตรการกดี กนั
และโตต้ อบทางการคา้ แกส่ นิ คา้ นำ� เขา้ จากไทยในบางรายการ นอกจากนี้ ยงั ทำ� ใหผ้ สู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานใหมๆ่
ขาดแรงจงู ใจในการสรา้ งสรรค์ผลงานข้นึ มาใหม่
กิจกรรม 13.3.1
จงอธิบายลกั ษณะระเบยี บโลกใหม่
แนวตอบกิจกรรม 13.3.1
ระเบยี บโลกใหมใ่ ห้ความส�ำคัญกับเร่อื งต่างๆ ดงั นี้
1. ความเปน็ ประชาธปิ ไตย (Democracy)
2. สทิ ธมิ นุษยชน (Human Right)
3. สภาพแวดลอ้ ม (Environment)
4. การค้าเสรี (Free Trade)
5. ลิขสิทธแ์ิ ละสทิ ธบิ ัตร (Copyright)