Page 50 - สังคมมนุษย์
P. 50

13-40 สงั คมมนษุ ย์
มสี ำ� นักงานใหญอ่ ยูท่ ี่กรงุ ไนโรบี ประเทศเคนยา กอ่ ตั้งเมือ่ ปี ค.ศ. 1972 โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือสำ� รวจและ
ประเมนิ แนวโนม้ ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ มในระดบั ชาติ ระดบั ภมู ภิ าค และระดบั โลก ตลอดจนเสรมิ
สร้างการจดั การส่งิ แวดลอ้ มอย่างชาญฉลาด ผ่านสถาบันและองค์กรตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง รวมท้งั แลกเปลยี่ น
ความรแู้ ละเทคโนโลยดี า้ นสง่ิ แวดลอ้ มเพอ่ื การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ) หรอื กรณกี ารคา้ ระหวา่ งประเทศ หากสนิ คา้
ของประเทศใดมีกระบวนการผลิตท่ีท�ำลายส่ิงแวดล้อมก็จะถูกต่อต้านจากประเทศคู่ค้าหรือองค์กรการค้า
โลก (World Trade Organization)

       ในกรณสี ตั วป์ ่ากเ็ ชน่ เดยี วกัน ประเทศไทย ก็ยงั มีการกระท�ำทล่ี ะเมดิ หรอื ท�ำลายสตั วป์ า่ และพนั ธุ์
พืช ซึ่งในเวทโี ลกก็มีการคมุ้ ครองเช่นกัน โดยผ่านสิง่ ท่เี รียกวา่ อนสุ ัญญาไซเตส (CITES)

       ไซเตส (CITES) คือ อนสุ ัญญาวา่ ด้วยการคา้ ระหว่างประเทศ ซ่งึ ชนดิ สตั ว์ปา่ และพืชป่าท่ใี กล้จะ
สูญพันธุ์ (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and
Flora) หรอื เรยี กอกี อย่างหนงึ่ ว่า อนสุ ญั ญาวอชงิ ตัน (Washington Convention) เนอ่ื งจากการประชุม
เพ่อื จัดต้งั ไซเตสจดั ข้นึ ทีก่ รงุ วอชงิ ตนั ดีซี

       สำ� หรบั ประเทศไทยเปน็ สมาชกิ ลำ� ดบั ท่ี 80 โดยลงนามรบั รองอนสุ ญั ญาในปี 2518 และใหส้ ตั ยาบนั
ในวันท่ี 21 มกราคม 2526

       ปจั จบุ นั การดำ� เนนิ งานการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรสตั วป์ า่ เพอ่ื มใิ หป้ ระชากรของสตั วป์ า่ ลดนอ้ ย
ลงหรอื สญู พนั ธไ์ุ ป กรมปา่ ไมไ้ ดด้ ำ� เนนิ การรว่ มมอื และประสานงานกบั นานาชาตใิ นการอนรุ กั ษส์ ตั วป์ า่ และ
ด�ำเนินงานด้านการป้องกันและปราบปราม โดยได้จัดต้ังด่านตรวจสัตว์ป่าข้ึนท่ีท่าอากาศยานนานาชาติ
ทา่ เรอื และจดุ ตรวจตามแนวชายแดน เพอื่ ปอ้ งกนั การลกั ลอบการคา้ การนำ� เขา้ การสง่ ออกและนำ� ผา่ นแดน
ซ่ึงสัตว์ป่าที่กระท�ำผิดพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ในปัจจุบันได้จัดตั้งข้ึนแล้ว
จำ� นวน 49 ด่าน

       จดุ ประสงคข์ อง CITES คือ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรสตั วป์ ่าและพืชป่าในโลก เพ่ือประโยชน์แห่ง
มวลมนษุ ยชาตโิ ดยเนน้ ทรพั ยากรสตั วป์ า่ และพชื ปา่ ทใ่ี กลจ้ ะสญู พนั ธห์ุ รอื มกี ารคกุ คาม ทำ� ใหม้ ปี รมิ าณรอ่ ย
หรอจนอาจเป็นเหตใุ หส้ ญู พนั ธ์ุ

       วธิ กี ารอนรุ กั ษข์ อง CITES กค็ อื การสรา้ งเครอื ขา่ ยทว่ั โลกในการควบคมุ การคา้ ระหวา่ งประเทศ
(International Trade) ทงั้ สตั วป์ า่ พชื ปา่ และผลติ ภณั ฑ์ แตไ่ มค่ วบคมุ การคา้ ภายในประเทศ สำ� หรบั ชนดิ
พนั ธอ์ุ ืน่ ๆ (Native Species)

       4. 	การค้าเสรี (Free Trade) การค้าเสรนี ับว่า เป็นประเด็นท่ีกอ่ ใหผ้ ลกระทบทั้งในด้านบวกและ
ดา้ นลบ แกป่ ระเทศตา่ งๆ ทวั่ โลก รวมทงั้ ไทยดว้ ย เนอ่ื งจากสภาพสงั คมโลกในปจั จบุ นั แตล่ ะประเทศ โดย
เฉพาะประเทศทเ่ี ป็นสมาชิกองค์การการคา้ โลก (World Trade Organization) ไมส่ ามารถทีจ่ ะมีอสิ ระ
ในการทำ� การคา้ ไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี เนอื่ งจากตอ้ งทำ� ตามกฎขององคก์ ารการคา้ โลก ซงึ่ โดยหลกั การขององคก์ าร
การคา้ โลก ต้องการสง่ เสริมการคา้ เสรี

       “การคา้ เสร”ี คอื แนวคดิ ทางเศรษฐศาสตรท์ หี่ มายถงึ การซอื้ ขายสนิ คา้ และบรกิ ารระหวา่ งประเทศ
โดยไมม่ กี ารเกบ็ ภาษศี ลุ กากร และการกดี กนั ทางการคา้ อนื่ ๆ รวมไปถงึ การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานและทนุ ขา้ ม
เขตแดนระหวา่ งประเทศโดยอสิ ระ การคา้ เสรคี อื สภาวะทไ่ี มม่ กี ารกดี กนั ใดๆ โดยรฐั บาลกบั การคา้ ระหวา่ ง
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55