Page 49 - สังคมมนุษย์
P. 49

การเปล่ียนแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมกบั ปญั หาสงั คม 13-39
       1. 	ในเรื่องของความเป็นประชาธิปไตย (Democracy) ประเทศไทย ณ ปจั จุบัน (พ.ศ. 2560)
ตอ้ งยอมรบั วา่ ยงั ไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั จากนานาอารยะประเทศในเรอื่ งของความเปน็ ประชาธปิ ไตย เหตผุ ล
หลักคงมาจากการท่ีประเทศไทยยังไม่ได้จัดให้มีการเลือกต้ังและรัฐบาลปัจจุบัน โดยมี พลเอก ประยุทธ์
จนั ทรโ์ อชา เปน็ นายกรฐั มนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบเรยี บร้อยแห่งชาติ (คณะรกั ษาความสงบ
แหง่ ชาติ หรอื คสช. คอื คณะนายทหารทท่ี ำ� การรฐั ประหารยดึ อำ� นาจรฐั บาล โดยมี พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์
โอชา ผบู้ ญั ชาการทหารบก ในขณะนนั้ เปน็ แกนนำ� และทำ� การยดึ อำ� นาจ เมอ่ื วนั ที่ 22 พฤษภาคม 2557)
ซ่ึงเป็นรัฐบาลที่ไม่ได้ผ่านการเลือกต้ังมาจากประชาชนตามวิถีทางประชาธิปไตย แต่มาจากการท�ำ
รฐั ประหารยดึ อำ� นาจมาจากรฐั บาลประชาธปิ ไตย ซงึ่ คณะรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยแหง่ ชาติ กไ็ ดใ้ หเ้ หตผุ ล
ของการท�ำรฐั ประหารในคร้งั นนั้ วา่ เน่ืองมาจากสภาพการณท์ างการเมืองที่วุน่ วายในขณะน้ัน
       2. 	 สทิ ธมิ นษุ ยชน (Human Right) ในมาตรา 3 ตามพระราชบญั ญตั คิ ณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชน
แหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ได้ระบุวา่ “สทิ ธิมนษุ ยชน” หมายความว่า ศกั ดิศ์ รีความเปน็ มนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ
และความเสมอภาคของบคุ คลทไ่ี ดร้ บั การรบั รองหรอื คมุ้ ครองตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย หรอื
ตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสญั ญาท่ีประเทศไทยมพี ันธกรณที ีจ่ ะต้องปฏิบัติตาม”
       ซึ่งประเด็นเร่ืองสิทธิมนุษยชนนั้น นับว่าประเทศไทยได้รับผลกระทบอย่างยิ่ง เพราะถูกระบุว่า
ยังมีการละเมดิ สิทธมิ นษุ ยชนอย่ไู ม่วา่ จะเปน็ การละเมิดสิทธิเด็ก สทิ ธิสตรี สทิ ธิเสรีภาพทางการเมือง และ
ทสี่ �ำคัญทส่ี ดุ ประเทศไทยถกู ระบุใหเ้ ป็นประเทศทีม่ ปี ัญหาการคา้ มนษุ ยท์ ี่รุนแรง ถงึ ข้นั เคยถูกจัดใหอ้ ยู่ใน
ระดบั Tier 3 มาแล้ว แต่ปัจจุบนั (มกราคม พ.ศ. 2560) ประเทศไทยไดร้ ับการเล่ือนอนั ดบั มาอยู่ที่ Tier
2 ซ่ึงหมายความว่า ประเทศไทยหรือรัฐบาล ได้ปฏิบัติตามมาตรฐานขั้นต�่ำของ TVPA (คือ กฎหมาย
คุ้มครองผู้ตกเป็นเหย่ือการค้ามนุษย์ Trafficking Victims Protection Act) ไม่ครบถ้วนแต่มีความ
พยายามอย่างมีนยั สำ� คญั เพ่อื ให้เป็นไปตามมาตรฐานเหล่านนั้
       อยา่ งไรกต็ ามการจดั อนั ดบั ดงั กลา่ วไมไ่ ดห้ มายความวา่ เปน็ การตายตวั สามารถไดร้ บั การปรบั ลด
หรือเพิม่ ขน้ึ ได้ ตามสถานการณ์ความเป็นจรงิ ในด้านการค้ามนุษยข์ องประเทศนน้ั ๆ
       แมป้ ญั หาการคา้ มนษุ ยใ์ นประเทศไทยในปจั จบุ นั จะอยใู่ นระดบั Tier 2 แตส่ ถานการณก์ ารละเมดิ
สิทธิมนุษยชนด้านอื่นๆ ยังมีอยู่ ซ่ึงหากปล่อยให้การละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกล่าวด�ำรงอยู่ ก็จะส่งผล
กระทบตอ่ ประเทศในด้านอ่ืนๆ ตามมา ทีเ่ หน็ ไดช้ ดั เจนท่สี ดุ คือ การควำ่� บาตรทางการค้า เป็นตน้
       3. 	สภาพแวดล้อม (Environment) สภาพแวดล้อมหรอื สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทง้ั ทรพั ยากรธรรมชาติ
ตา่ งๆ ในปจั จบุ นั นบั วา่ เปน็ สง่ิ ทที่ ว่ั โลกใหค้ วามสำ� คญั และพยายามปกปอ้ งอนรุ กั ษ์ และมกี ารออกมาตรการ
ตา่ งๆ ในการอนรุ กั ษแ์ ละคมุ้ ครองสภาพแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ เนอ่ื งจากมนษุ ยชาติ เรมิ่ ตระหนกั
แลว้ วา่ มนษุ ยจ์ ะดำ� รงชวี ติ อยไู่ ดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ จะตอ้ งอยภู่ ายใตส้ ง่ิ แวดลอ้ มทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ เพราะฉะนนั้ ภยั
พบิ ตั ติ า่ งๆ ภยั ธรรมชาตติ า่ งๆ นอกจากจะเกดิ ขน้ึ จากธรรมชาติ แตป่ ฏเิ สธไมไ่ ดว้ า่ สว่ นหนงึ่ เกดิ จากนำ้� มอื
มนษุ ย์ เช่น การตดั ไมท้ �ำลายปา่ การท�ำให้เกดิ มลพษิ ทางอากาศ การเกิดมลพิษทางนำ้� หรือนำ�้ เสีย
       การที่ประเทศใดๆ ในโลก รวมทั้งประเทศไทย หากมีการด�ำเนินการใดๆ ท่ีท�ำลายส่ิงแวดล้อม
และทรพั ยากรธรรมชาติ กจ็ ะถกู กดดนั จากนานาอารยะประเทศหรอื องคก์ ารระหวา่ งประเทศ เชน่ สหประชาชาติ
ท่มี ีโครงการส่งิ แวดลอ้ มแห่งสหประชาชาติ หรือ United Nations Environment Programme: UNEP
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54