Page 48 - สังคมมนุษย์
P. 48
13-38 สงั คมมนุษย์
เร่ืองที่ 13.3.1
ปัญหาสังคมไทยกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และวัฒนธรรมในระดับโลก
การเปลีย่ นแปลงทางสงั คมและวัฒนธรรมของโลก ตอ่ การกา้ วส่ศู ตวรรษที่ 21 กค็ อื การเชื่อมโยง
ประเทศต่างๆ ให้ใกล้ชิดกันมากยิ่งข้ึน หรือประเทศต่างๆ ได้ก้าวสู่ระบบหนึ่งเดียวกัน ตามท่ีเรียกว่า
โลกาภิวตั น์ (Globalization) นบั ได้ว่าเป็นกระแสหลกั ของโลก ยคุ ปจั จุบันในฐานะเปน็ ตวั จกั รขับเคลือ่ น
โลกใบน้ีภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน หรืออาจจะเรียกได้ว่า เป็นระเบียบโลกใหม่ หรือ New World Order
(การจดั ระเบยี บโลกใหม่ เรมิ่ จรงิ ๆ เมอ่ื มกี ารประกาศเรอื่ งนจี้ ากสหรฐั อเมรกิ า โดยประธานาธบิ ดจี อรจ์ บชุ
(คนพอ่ ) (พรรครพี บั ลกิ นั ) เมอ่ื วนั ท่ี 11 กนั ยายน 1990 มเี นอ้ื หาคลา้ ยยทุ ธศาสตรช์ าติ โดยทใี่ นสมยั รฐั บาล
ของประธานาธิบดีบิล คลินตัน (พรรคเดโมแครต) นั้น รู้จักกันในนามของ “แผนยุทธบริเวณใหม่ของ
ยทุ ธการสหรฐั ทางการเมอื ง-การทหาร” (1998) ซง่ึ หลงั เหตกุ ารณ์ 11 กนั ยายน 2001 ในสมยั ประธานาธบิ ดี
จอร์จ ดับเบ้ิลยู บุช (คนลูก) เริ่มแสดงให้เห็นชัดว่า สหรัฐอเมริกาต้องการเป็น “รัฐบาลโลก” จากการ
ประกาศแนวทางว่า “ใครกต็ ามทีไ่ มไ่ ดย้ นื อยู่เคียงข้างอเมรกิ า ... ผ้นู น้ั กค็ อื ฝา่ ยผ้กู ่อการรา้ ย”)
ประเทศไทยซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโลก ย่อมหลีกหนีไม่พ้น ต้องได้รับอิทธิพลต่อกระแสดัง
กล่าว ซ่ึงเต็มไปด้วยกระแสแหง่ การพลวัตอย่างสงู และรวดเรว็ ทั้งในด้านสภาพแวดล้อม เศรษฐกจิ สังคม
การเมอื ง ซง่ึ ไมเ่ คยเปน็ มากอ่ น การไหลบา่ ของกระแสโลกาภวิ ตั นน์ ี้ ไดเ้ รง่ ใหป้ ระเทศกำ� ลงั พฒั นาทงั้ หลาย
รวมทง้ั ประเทศไทย ตอ้ งหนั มาเปดิ นโยบายตา่ งๆ ทง้ั ทางดา้ นการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม ใหส้ อดรบั กบั
กระแสโลกาภวิ ตั น์ ซง่ึ ก็ถอื เปน็ ระเบยี บโลกใหม่ ในปัจจุบนั
ซึ่งจะต้องให้ความส�ำคญั กบั เร่อื งต่างๆ ดังนี้ (www.leadership.exteen.com/20090420/new-
world-order)
1. ความเปน็ ประชาธปิ ไตย (Democracy)
2. สิทธิมนษุ ยชน (Human Right)
3. สภาพแวดล้อม (Environment)
4. การค้าเสรี (Free Trade)
5. ลขิ สิทธแิ์ ละสิทธบิ ตั ร (Copyright)
ดังนั้น การด�ำเนินการใดๆ ก็ตาม หากไม่สอดคล้องหรือไม่ให้ความส�ำคัญกับระเบียบโลกใหม่
ดังกล่าว ประเทศน้ันย่อมได้รับผลกระทบจากสังคมโลกหรือโดยประเทศมหาอ�ำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา
เป็นต้น
ประเทศไทยก็เช่นเดียวกัน ได้รับผลกระทบจากการท่ีไม่สามารถด�ำเนินการตามกระแสโลกใหม่
ดงั กลา่ วได้ เร่ิมต้ังแต่